แผนบริหารการสอนตามกรอบมาตรฐานอุดมศึกษา (TQF)
หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป
รหัส 3562104 ชื่อรายวิชา การจัดการสำนักงาน
จำนวนหน่วยกิต / จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ 3 (2-2-5)
หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการ)
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จตุพร จันทารัมย์
ภาคการศึกษา 1/2561 ชั้นปีที่เรียน นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการ ชั้นปีที่ 2 หมู่ที่ 1,2
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) ไม่มี
รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisite) ไม่มี
สถานที่เรียน อาคาร 18 ห้อง 1832 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และอาคาร 2 ห้อง 231 มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด 20 กรกฎาคม 2561
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
จุดมุ่งหมายรายวิชา
วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษาเรียนครบหลักสูตร โดยนักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดการสำนักงาน และสามารถนำความรู้ดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินงาน การพัฒนางานและตลอดจนการปรับปรุงการปฏิบัติงานด้านสำนักงานได้ในอนาคต
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาแนวคิดและหลักการดำเนินงานของสำนักงาน บทบาทของการจัดสำนักงาน การออกแบบ วิเคราะห์ระบบ การวางแผนผัง การจัดสถานที่ทำงาน การจัดการงานสารบรรณ งานพัสดุ ระเบียบวิธีปฏิบัติของงานสำนักงาน การจัดการเครื่องมือและอุปกรณ์ บุคลากรและเทคโนโลยีในรูปแบบสำนักงานอัตโนมัติ รวมทั้งการอำนวยการและการควบคุมการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพ
จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา (16 สัปดาห์)
จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
-วันจันทร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 17.00 น.
-วันอังคาร ตั้งแต่เวลา 08.30 – 12.00 น.
-วันพุธ ตั้งแต่เวลา 14.40 – 17.00 น.
-วันพฤหัสบดีและวันศุกร์ ตั้งแต่เวลา 16.00 – 17.00 น.
นักศึกษาสามารถมาขอคำปรึกษาได้โดยการมาพบที่ห้อง 1313 (ห้องพักอาจารย์สาขาวิชาการจัดการ) หรือ E-mail (jeabzia@gmail.com) และ Line ID : jeab
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา
£ 1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมจริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
£ 1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ และสังคม
R 1.3 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
R 1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
R1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
-มีการตั้งกฎกติกาในการเข้าห้องเรียนร่วมกัน
-มอบหมายงานกลุ่มให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ร่วมกัน
-นักศึกษามีส่วนร่วมอภิปรายแสดงความคิดเห็น
-กำกับดูแลอย่างใกล้ชิด
-เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
R2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎี
R2.2 สามารถวิเคราะห์นำหลักทฤษฎีไปประยุกต์ใช้
R 2.3 สามารถเรียนรู้และต่อยอดองค์ความรู้ตนเองได้
R2.4 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ใช้งานได้จริง
R2.5 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
-ให้ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน
-ให้ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งต่างๆ แล้วนำมาเป็นกรณีศึกษานำเสนอในชั้นเรียน
-ให้ทำกิจกรรมกลุ่มตามใบงานที่มอบหมาย
-ให้ทำแบบทดสอบ
-แบบทดสอบวัดความรู้กลางภาคและปลายภาค
R 3.1 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ จากหลักการที่ได้เรียนมา
R 3.2 สามารถแก้ไขปัญหาได้โดยนำหลักการต่างๆ มาอ้างอิงอย่างมีเหตุผล
R3.3 สามารถหาแนวทางที่เหมาะสมมาใช้ในการแก้ไขปัญหา
R 3.4 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
– ฝึกตอบปัญหาและแก้ปัญหาด้วยแบบจำลองในชั้นเรียน
-การแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาด้วยการระดมสมองร่วมกัน
-การแก้ไขปัญหาจากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้และนำเสนอผลสรุปที่ได้
– ใบงาน
ความรับผิดชอบ
R 4.1 สามารถทำงานร่วมกันกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
R 4.2 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
R4.3 สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ต่างๆ โดยรู้จักการวางแผนในการดำเนินชีวิตและรับผิดชอบตนเอง
£4.4 มีภาวะผู้นำ
-การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันในกลุ่ม พร้อมแลกเปลี่ยนระหว่างกลุ่ม
-ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา และพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
£5.1 พัฒนาทักษะในการเก็บข้อมูล นำเสนอและสามารถเลือกรูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมโดยผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและเขียน
R5.2 ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์และสถิติในการวิเคราะห์และนำเสนอ
R5.3 สามารถวิเคราะห์ปัญหาและหาแนวทางที่เหมาะสมในการแก้ไขปัญหา
-มอบหมายงานที่ต้องคิดคำนวณและใช้สถิติที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชา
-กำกับดูแลการใช้สื่อประกอบการสำเสนอจนเป็นนิสัย
รายงานกลุ่มในส่วนที่นักศึกษารับผิดชอบ
-ประเมินทักษะการสื่อสารด้วยภาษาพูดจากพัฒนาการการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
-การสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
ที่
* บทที่ 1 ความหมาย ความสำคัญของสำนักงาน
อ.จตุพร
-นักศึกษาเข้าร่วมโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมสาขาวิชาการจัดการ (บายศรีสู่ขวัญและ
-นักศึกษาสรุปกิจกรรมโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมสาขาวิชาการจัดการ (บายศรีสู่ขวัญและพิธีไหว้ครูสาขาวิชาการจัดการ)
นักศึกษาแบ่งกลุ่มเพื่อเรียนรู้การจัดทำเอกสารเพื่อจัดโครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนรายวิชาการจัดการสำนักงาน โดยจัดการอบรมในแต่ละหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย โดยจัดทำเอกสารโครงการและจัดโครงการขึ้นจริง
-อาจารย์ผู้สอนให้คำชี้แนะแต่ละกลุ่มในการจัดโครงการดังกล่าว
-นักศึกษามีส่วนร่วมแลกเปลี่ยนและแนะแนวทางการทำงานแต่ละกลุ่มร่วมกัน
ประเมิน
การประเมินผล
8 และ 16
50 %
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
เอกสารและตำราหลัก
เอกสารประกอบการสอนวิชาการจัดการสำนักงาน (3562104) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. 2557.
เอกสาร แหล่งเรียนรู้และข้อมูลแนะนำ
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
– การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
– การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
– แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
– ข้อเสนอแนะผ่านเว็บไซด์ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา กลุ่มสมาชิกเครือข่ายออนไลน์ Line กลุ่มห้องเรียน สาขาวิชาการจัดการ
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
-ผลการสอบ
-การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาแล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมองเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไขและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
-สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
-การเก็บข้อมูลจากประสบการณ์สอน เพื่อนำมาปรับปรุงการสอนในครั้งต่อไป หรืองานวิจัยในชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสัมภาษณ์นักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบกลางภาคและภายหลังการออกผลการเรียนรายวิชา ความเหมาะสมของการให้คะแนน มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
-การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
-มีการตั้งคณะกรรมการในหลักสูตรฯ ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชาเสนอต่อประธานกรรมการบริหารหลักสูตรเพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป โดยหลักสูตรได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
-ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
– เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มา
จากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
Filter by Group type
Filter by Total Members number
การจัดการสำนักงาน
การจัดการสำนักงาน
แผนบริหารการสอนตามกรอบมาตรฐานอุดมศึกษา (TQF)
หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป
รหัส 3562104 ชื่อรายวิชา การจัดการสำนักงาน
จำนวนหน่วยกิต / จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ 3 (2-2-5)
หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการ)
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จตุพร จันทารัมย์
ภาคการศึกษา 1/2561 ชั้นปีที่เรียน นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการ ชั้นปีที่ 2 หมู่ที่ 1,2
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) ไม่มี
รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisite) ไม่มี
สถานที่เรียน อาคาร 18 ห้อง 1832 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และอาคาร 2 ห้อง 231 มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด 20 กรกฎาคม 2561
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
จุดมุ่งหมายรายวิชา
วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษาเรียนครบหลักสูตร โดยนักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดการสำนักงาน และสามารถนำความรู้ดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินงาน การพัฒนางานและตลอดจนการปรับปรุงการปฏิบัติงานด้านสำนักงานได้ในอนาคต
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาแนวคิดและหลักการดำเนินงานของสำนักงาน บทบาทของการจัดสำนักงาน การออกแบบ วิเคราะห์ระบบ การวางแผนผัง การจัดสถานที่ทำงาน การจัดการงานสารบรรณ งานพัสดุ ระเบียบวิธีปฏิบัติของงานสำนักงาน การจัดการเครื่องมือและอุปกรณ์ บุคลากรและเทคโนโลยีในรูปแบบสำนักงานอัตโนมัติ รวมทั้งการอำนวยการและการควบคุมการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพ
จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา (16 สัปดาห์)
จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
-วันจันทร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 17.00 น.
-วันอังคาร ตั้งแต่เวลา 08.30 – 12.00 น.
-วันพุธ ตั้งแต่เวลา 14.40 – 17.00 น.
-วันพฤหัสบดีและวันศุกร์ ตั้งแต่เวลา 16.00 – 17.00 น.
นักศึกษาสามารถมาขอคำปรึกษาได้โดยการมาพบที่ห้อง 1313 (ห้องพักอาจารย์สาขาวิชาการจัดการ) หรือ E-mail (jeabzia@gmail.com) และ Line ID : jeab
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา
£ 1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมจริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
£ 1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ และสังคม
R 1.3 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
R 1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
R1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
-มีการตั้งกฎกติกาในการเข้าห้องเรียนร่วมกัน
-มอบหมายงานกลุ่มให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ร่วมกัน
-นักศึกษามีส่วนร่วมอภิปรายแสดงความคิดเห็น
-กำกับดูแลอย่างใกล้ชิด
-เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
R2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎี
R2.2 สามารถวิเคราะห์นำหลักทฤษฎีไปประยุกต์ใช้
R 2.3 สามารถเรียนรู้และต่อยอดองค์ความรู้ตนเองได้
R2.4 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ใช้งานได้จริง
R2.5 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
-ให้ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน
-ให้ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งต่างๆ แล้วนำมาเป็นกรณีศึกษานำเสนอในชั้นเรียน
-ให้ทำกิจกรรมกลุ่มตามใบงานที่มอบหมาย
-ให้ทำแบบทดสอบ
-แบบทดสอบวัดความรู้กลางภาคและปลายภาค
R 3.1 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ จากหลักการที่ได้เรียนมา
R 3.2 สามารถแก้ไขปัญหาได้โดยนำหลักการต่างๆ มาอ้างอิงอย่างมีเหตุผล
R3.3 สามารถหาแนวทางที่เหมาะสมมาใช้ในการแก้ไขปัญหา
R 3.4 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
– ฝึกตอบปัญหาและแก้ปัญหาด้วยแบบจำลองในชั้นเรียน
-การแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาด้วยการระดมสมองร่วมกัน
-การแก้ไขปัญหาจากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้และนำเสนอผลสรุปที่ได้
– ใบงาน
ความรับผิดชอบ
R 4.1 สามารถทำงานร่วมกันกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
R 4.2 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
R4.3 สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ต่างๆ โดยรู้จักการวางแผนในการดำเนินชีวิตและรับผิดชอบตนเอง
£4.4 มีภาวะผู้นำ
-การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันในกลุ่ม พร้อมแลกเปลี่ยนระหว่างกลุ่ม
-ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา และพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
£5.1 พัฒนาทักษะในการเก็บข้อมูล นำเสนอและสามารถเลือกรูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมโดยผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและเขียน
R5.2 ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์และสถิติในการวิเคราะห์และนำเสนอ
R5.3 สามารถวิเคราะห์ปัญหาและหาแนวทางที่เหมาะสมในการแก้ไขปัญหา
-มอบหมายงานที่ต้องคิดคำนวณและใช้สถิติที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชา
-กำกับดูแลการใช้สื่อประกอบการสำเสนอจนเป็นนิสัย
รายงานกลุ่มในส่วนที่นักศึกษารับผิดชอบ
-ประเมินทักษะการสื่อสารด้วยภาษาพูดจากพัฒนาการการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
-การสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
ที่
* บทที่ 1 ความหมาย ความสำคัญของสำนักงาน
อ.จตุพร
ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานของงานสำนักงาน
อ.จตุพร
อ.จตุพร
-นักศึกษาเข้าร่วมโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมสาขาวิชาการจัดการ (บายศรีสู่ขวัญและ
ที่
อ.จตุพร
-นักศึกษาสรุปกิจกรรมโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมสาขาวิชาการจัดการ (บายศรีสู่ขวัญและพิธีไหว้ครูสาขาวิชาการจัดการ)
อ.จตุพร
อ.จตุพร
อ.จตุพร
อ.จตุพร
อ.จตุพร
ที่
อ.จตุพร
นักศึกษาแบ่งกลุ่มเพื่อเรียนรู้การจัดทำเอกสารเพื่อจัดโครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนรายวิชาการจัดการสำนักงาน โดยจัดการอบรมในแต่ละหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย โดยจัดทำเอกสารโครงการและจัดโครงการขึ้นจริง
อ.จตุพร
-อาจารย์ผู้สอนให้คำชี้แนะแต่ละกลุ่มในการจัดโครงการดังกล่าว
-นักศึกษามีส่วนร่วมแลกเปลี่ยนและแนะแนวทางการทำงานแต่ละกลุ่มร่วมกัน
อ.จตุพร
อ.จตุพร
อ.จตุพร
อ.จตุพร
อ.จตุพร
ประเมิน
การประเมินผล
-แบบทดสอบวัดความรู้กลางภาคและปลายภาค
8 และ 16
50 %
– ใบงาน
-ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา และพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
รายงานกลุ่มในส่วนที่นักศึกษารับผิดชอบ
-ประเมินทักษะการสื่อสารด้วยภาษาพูดจากพัฒนาการการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
-การสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
เอกสารและตำราหลัก
เอกสารประกอบการสอนวิชาการจัดการสำนักงาน (3562104) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. 2557.
เอกสาร แหล่งเรียนรู้และข้อมูลแนะนำ
2. สำนักวิทยบริการ (ห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์).
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
– การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
– การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
– แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
– ข้อเสนอแนะผ่านเว็บไซด์ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา กลุ่มสมาชิกเครือข่ายออนไลน์ Line กลุ่มห้องเรียน สาขาวิชาการจัดการ
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
-ผลการสอบ
-การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาแล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมองเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไขและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
-สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
-การเก็บข้อมูลจากประสบการณ์สอน เพื่อนำมาปรับปรุงการสอนในครั้งต่อไป หรืองานวิจัยในชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสัมภาษณ์นักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบกลางภาคและภายหลังการออกผลการเรียนรายวิชา ความเหมาะสมของการให้คะแนน มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
-การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
-มีการตั้งคณะกรรมการในหลักสูตรฯ ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชาเสนอต่อประธานกรรมการบริหารหลักสูตรเพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป โดยหลักสูตรได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
-ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
– เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มา
จากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
ไฟล์แนบ