ผู้วิจัย

วีราพัชร์ ปุญญพัฒนศิริ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาเว็บไซต์ข้อมูลท้องถิ่นจังหวัดบุรีรัมย์ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้งานที่มีต่อระบบเว็บไซต์ศูนย์ข้อมูลท้องถิ่นจังหวัดบุรีรัมย์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้พัฒนาระบบประกอบด้วยโปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลมายเอสคิวแอล โปรแกรม WordPress ประเมินความพึงพอใจด้วยแบบสอบถาม จากผู้ใช้บริการเว็บไซต์ข้อมูลท้องถิ่น จานวน 665 คนสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบความแตกต่างโดยใช้ค่าสถิติที (t-test) ผลการวิจัยพบว่าการศึกษาค้นคว้า พบว่า การพัฒนาเว็บไซต์ศูนย์ท้องถิ่นจังหวัดบุรีรัมย์ สามารถใช้งานได้จริง จากการศึกษาความพึงพอใจของผู้ปฏิบัติงาน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ยรวมที่ 3.63)

หน่วยงานการอ้างอิง

อภิญญา สงเคราะห์สุข. รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ. วิทยานิพนธ์ศิลปศา สตรมหาบัณฑิต, บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ เจ้าพระยา, 2552. Kentie, Peter. Web design tools and techniques. Berkeley, Ca.: Peachpit, c2002. Geest, Thea van der. Web site design is communication design. Amsterdam: John Benjamins, 2001. เกษม สาหร่ายทิพย์. รศ. . ระเบียบวิธีวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์รัตนสุวรรณ, 2542. บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สุวิริยาสาส์น, 2545. Sklar, Joel. Principles of Web design. 2nd ed. Boston, Mass.: Thomson/Course Technology, 2003. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์. คู่มือคุณภาพคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครั้งที่ 3 (1 ธันวาคม 2547). [ม.ป.ท.], 2547. (อัดสาเนา) ดวงพร เกี๋ยงคา และวงศ์ประชา จันทร์สมวงศ์. คู่มือสร้างเว็บไซต์ด้วยตนเอง. กรุงเทพ : โปรวิชั่น, 2546.

ไฟล์แนบ

pdf การพัฒนาเว็บไซต์ศูนย์ท้องถิ่นจังหวัดบุรีรัมย์

ขนาดไฟล์ 281 KB | จำนวนดาวน์โหลด 325 ครั้ง

ความคิดเห็น