สมาชิก
สายสนับสนุน
สายวิชาการ
กลุ่ม
กิจกรรมล่าสุด
บทความและงานวิจัย
เกี่ยวกับ
คู่มือการใช้งาน
ทำความรู้จัก BRU Personnel
รายละเอียดรุ่น
บัญชีผู้ใช้
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิก
Search for
Home
Docs
การวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียมแสงสว่างเวลากลางคืน (Nighttime Light Satellite Image)
การวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียมแสงสว่างเวลากลางคืน (Nighttime Light Satellite Image)
การวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียมแสงสว่างเวลากลางคืน (Nighttime Light Satellite Image)
Read
History
You are currently viewing a revision titled "การวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียมแสงสว่างเวลากลางคืน (Nighttime Light Satellite Image)", saved on 3 กุมภาพันธ์ 2021 at 04:09 by
ณัฐวุฒิ ทะนันไธสง
ชื่อ
การวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียมแสงสว่างเวลากลางคืน (Nighttime Light Satellite Image)
เนื้อหา
การวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียมแสงสว่างเวลากลางคืน
(
Nighttime Light Satellite Image)
แสงสวางเวลากลางคืน หมายถึง แสงสว่างบนพื้นผิวโลกที่เกิดจากกิจกรรมมนุษย์ สามารถตรวจจับได้ด้วยดาวเทียม ภาพถ่ายดาวเทียมแสงสว่างเวลากลางคืนได้รับการพิสูจน์ว่ามีประสิทธิภาพในการศึกษาการกลายเป็นเมือง (urbanization) จากหลายประเทศทั่วโลก โดยข้อมูลแสงสว่างเวลากลางคืนที่นำมาประยุกต์ใช้ในการศึกษาเกี่ยวกับเมือง มีประโยชน์อย่างยิ่งต่อพื้นที่ที่ขาดแคลนข้อมูลทางสถิติ หรือ มีข้อมูลทางด้านเศรษฐกิจและสังคมที่ล้าสมัย สำหรับภาพถ่ายดาวเทียมแสงสว่างเวลากลางคืนเป็นข้อมูลสาธารณะที่สามารถเข้าถึงได้อย่างสะดวกและมีการปรับปรุงข้อมูลที่บ่อยกว่า จึงเป็นอีกเครื่องมือหนึ่งที่มีศักยภาพในการนำมาวิเคราะห์การเจริญเติบโตของเมือง ภาพถ่ายดาวเทียมที่นำมาวิเคราะห์ สำรวจและจัดเก็บโดย National Oceanic and Atmospheric Administration (NOAA) ประเทศสหรัฐอเมริกา ด้วยดาวเทียม DMSP ดาวเทียมวงโคจรต่ำมีเครื่องมือวัดหลายชนิดและมีอุปกรณ์หลักคือ อุปกรณ์ถ่ายภาพความละเอียดสูง AVHRR (Advanced Very High Resolution Radiometer) ซึ่งจะถ่ายภาพด้วยจุดภาพขนาด 1.1 กิโลเมตร รวม 6 ช่องสัญญาณ และส่ง สัญญาณกลับมายังโลกในโหมด HRPT (High Resolution Picture Transmission) จะมีความละเอียดของ ภาพ 1×1 ตารางกิโลเมตร ต่อ 1 พิกเซล ความถี่ในการส่งสัญญาณ 1698MHz, 1707MHz อยู่ในย่าน L-Band นอกจากนี้ยังส่งสัญญาณลงมาอีก 2 ช่องสัญญาณที่ความถี่ 137 MHz ย่าน VHF ในโหมด (Automatic Picture Transmission) มีความละเอียดของภาพ 4 ×4 ตารางกิโลเมตร ต่อ 1 พิกเซล เป็นดาวเทียมที่ใช้ประโยชน์ทางด้าน อุตุนิยมวิทยา เช่น ใช้ติดตามกลุ่มเมฆ ประมาณพื้นที่ปกคลุมด้วยหิมะและวัดอุณหภูมิผิวน ทะเล รวมถึงไฟป่า (Weatherthai, 2013) ในการวิเคราะห์ แสงสว่างเวลากลางคืน โดยใช้ Bands stabal_lights ที่มีค่าระหว่าง 0 - 63 เลือกใช้ปี ค.ศ.1992, 2000, 2008 และ 2013 โดยการแสดงผลแสงสว่างเวลากลางคืน จากค่า 0 – 63 ด้วยสีดำ ขาว เหลือง ส้มและแดง ในการทำการวิเคราะห์ข้อมูลผ่าน Google Earth Engine พบว่ามีประโยชน์และศักยภาพสูงมาก โดยเฉพาะการเข้าถึง Data จำนวนมหาศาล ทั้งล่าสุดและย้อนหลัง ผ่าน API ที่เราสามารถเขียนโปรแกรมเพื่อวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลต่อได้ สำหรับการเคราะห์แสงสว่างเวลากลางคืน สามารถใช้โค้ด Google Earth Engine จากตัวอย่างการเขียน ดังนี้
https://code.earthengine.google.com/?scriptPath=users%2 Fnatthawutta%2Flandsat%3ANight%20Light%20(NOAA%20Dataset%20-%20VIIRS)
เกริ่นนำ
Old
New
Date Created
Author
Actions
Old
New
2 กุมภาพันธ์ 2021 at 21:09
ณัฐวุฒิ ทะนันไธสง
×
ยินดีต้อนรับสู่ เว็บไซต์บุคลากร
คุณจำรหัสผ่านไม่ได้?
บันทึกการใช้งานของฉัน
×
Forgot your details?
×
ลงทะเบียนบัญชีของคุณ
สมัครสมาชิก
suggestions
Members
Groups
0
applied filters
สายงาน
สายสนับสนุน
สายวิชาการ
คณะ
คณะครุศาสตร์
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์
คณะวิทยาการจัดการ
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะบัณฑิตวิทยาลัย
สาขาวิชา
หน่วยงาน
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักงานอธิการบดี
สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักศิลปและวัฒนธรรม
สำนักงานตรวจสอบภายใน
สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
คณะครุศาสตร์
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์
คณะวิทยาการจัดการ
คณะพยาบาลศาสตร์
บัณฑิตวิทยาลัย
0
applied filters
Group Status
Public
Private
Filter by Group type
Total Members
Filter by Total Members number
การวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียมแสงสว่างเวลากลางคืน (Nighttime Light Satellite Image)
การวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียมแสงสว่างเวลากลางคืน (Nighttime Light Satellite Image)