ผู้วิจัย

สมบัติ ประจญศานต์

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ ก้านขดเป็นลายจ�ำหลักที่ส�ำคัญ บนเสาติดกับผนังและหน้าบันของปราสาทขอม ตั้งแต่กลางพุทธศตวรรษที่13ถึงพุทธศตวรรษที่18 นับแต่ศิลปะพระโค บาแค็ง คลัง บาปวน นครวัด และบายน บรรพชนได้ออกแบบสร้างสรรค์โดยการแปรเปลี่ยนองค์ประกอบและ จัดวางองค์ประกอบลายในพื้นที่ตามแต่จินตนาการผู้ออกแบบมีแรงบันดาลใจในการแปรเปลี่ยนองค์ประกอบของลายสู่การสร้างสรรค์ ลายมัดหมี่ ซึ่งอาศัยกระบวนการออกแบบเรขศิลป์ด้วยเทคนิคการลดรูป การเพิ่มรูป และการสร้างมิติด้านระยะด้วยค่าน�้ำหนักของสี ในวงจรสีน�ำไปผลิตผ้าไหมมัดหมี่จ�ำนวน 3ผืน การพบในการจัดสร้างผลงานต้องเข้าใจกระบวนการก่อรูปของลายมัดหมี่การใช้เทคนิค การก�ำหนดลายในตารางกริดท�ำให้ช่างมัดหมี่ตามแบบได้ง่าย และช่างย้อมสีสามารถแยกสีในการย้อมแต่ละครั้งจากแบบลายสีได้ อีกทั้งการออกแบบสีโดยอาศัยเทคนิคการสร้างมิติด้านระยะด้วยค่าน�้ำหนักของสีตามวงจรสีท�ำให้ได้ผลงานที่น่าสนใจ Abstract Kankhot (the name of a decorative pattern) is an important motif on the pilasters and pediment of the Khmer sanctuary during the middle of the 13th to the 18th Buddhist century. In the era of Preah Ko, Bakheng, Khleang, Baphuon, Angkor Wat and Bayon, Khmer ancestors creatively designed compositional graduation and pattern orientation in their area by their imagination. The designer had an inspiration to the compositional gradation of the sanctuary’s ornament to create mudmee motifs which were based on the process of graphic design using subtractive and additive techniques as well as creation of distance-dimensional technique by using colour value based on the colour wheel in order to produce 3 pieces of mudmee silk. The key findings of the creation were the understanding of mudmee forming process and the use of pattern orientation on grid which makes it easy for the producers to follow the patterns and enables dyers to distinguish colours from the patterns in each dye. In addition, colour design using the distance-dimensional technique with colour values based on the colour wheel makes an interesting contribution.

บรรณานุกรม

เอกสารอ้างอิง สุภัทรดิศ, หม่อมเจ้า ดิศกุล. (2539). ศิลปะขอม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. สมบัติประจญศานต์. (2558). รายงานการวิจัยการออกแบบผ้าไหมมัดหมี่ที่มีลวดลายเรขศิลป์จากผังพื้นของปราสาทในเขตอีสาน ใต้ ประเทศไทย. บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. Baphuon Temple Pilasters. (2016). [online]. Retrieved July 1, 2016. From https://www.google.co.th/maps/place/ Baphuon. Preah Ko Temple Pilasters. (2016). [online]. Retrieved July 1, 2016. From https://www.dreamstime.com/royalty-free-stock-photography-cambodia-angkor-preah-ko-temple-carved-guardianimage5377647

หน่วยงานการอ้างอิง

การประชุมวิชาการระดับชาติ “โฮมภูมิ ครั้งที่ 3 : Wisdom to the Future : ภูมิปัญญาสู่อนาคต” คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 15 - 16 มิถุนายน 2560

ไฟล์แนบ

pdf 009-สมบัติ-ประจญศานต์

ขนาดไฟล์ 1 MB | จำนวนดาวน์โหลด 530 ครั้ง

ความคิดเห็น