ผู้วิจัย

สมบัติ ประจญศานต์

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การก�ำหนดขนาดพื้นที่สังฆกรรมตามพุทธบัญญัติโดยศึกษาข้อมูลสัดส่วนของภิกษุสงฆ์ ที่ค่าเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 95 พบว่า พื้นที่นั่งมีขนาดกว้าง 1,300 มิลลิเมตร ความยาว 1,067.5 มิลลิเมตร ระยะหัตถบาส 500 มิลลิเมตร ได้พื้นที่นั่งของพระสงฆ์1.40 ตารางเมตรต่อรูป และเมื่อวิเคราะห์จากรูปแบบผังการนั่งของสงฆ์ในสังฆกรรมแต่ละพิธีได้พื้นที่นั่งของ พระสงฆ์2.30 ตารางเมตรต่อรูป และจากพุทธบัญญัติเกี่ยวกับสีมาที่พระสงฆ์จะพึงกระท�ำสังฆกรรมนั้นจะต้องก�ำหนดเขตสีมาห้ามไม่ ให้สมมุติสีมาเล็กเกินไป จนไม่สามารถบรรจุภิกษุ21 รูป นั่งหัตถบาสได้แสดงถึงพื้นที่สังฆกรรม ต้องมีพื้นที่รวมระยะสัญจรไม่น้อยกว่า 48.30 ตารางเมตร Abstract The objectives of this article were to analyze the area requirement for religious rites performed by Buddhist monks Follow The Buddhist Canon. Having beenanalyzed with dataof Thai monk’s figure at percentiles 95, A sitting area with a width 1,300 mm., length 1,067.5 mm., Hattbas (limited space between each monk) 500 mm. made a seat forone monk which was approximately 1.40 m2 forone monk. Whenanalyze from seat pattern for any religious rites performed made a seat for one monk which was approximately 2.30 m2 for one monk and the Buddhist canon in terms of Sima (boundary marker) for Buddhist monks performing religious rites, Sima was not allowed to be too small to fit 21 monks. This represented that the interior area of Sim must be bigger with 48.30 m2 .

บรรณานุกรม

กุสุมาธรรมธ�ำรงและคณะ. (2552). ข้อมูลสัดส่วนร่างกายประชากรไทยเพื่อการออกแบบทางสถาปัตยกรรม.กรุงเทพฯ: พลัสเพรส. รุ่งโรจน์ธรรมรุ่งเรือง. (2559). “คติความเชื่อและหน้าที่อันหลากหลายของหลักหินทวารวดีอีสาน: สังเขปรูปแบบพัฒนาการงานช่าง สถาปัตยกรรมในอีสาน”. พัฒนาการของศิลปะในภาคอีสาน. อุดรธานี: โรงพิมพ์บ้านเหล่าการพิมพ์. หน้า 43-64. วงเดือน ทองเขียว. (2545). ความเชื่อเรื่องบุญและพิธีกรรมเกี่ยวกับอุโบสถของชาวพุทธในเขตจังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์ศิลป ศาตรมหาบัณฑิต สาขาไทยคดีศึกษา. นครปฐม: สถาบันราชภัฏนครปฐม. วิโรฒ ศรีสุโร. (2536). สิมอีสาน. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโตโยต้า. . (2547). วิกฤตสถาปัตย์พื้นถิ่นในดินแดนอีสาน. วารสารอีสานศึกษา, 2 (5 ต.ค.- ธ.ค.),9-15. สมคิด จิระทัศนกุล. (2543). วัด : พุทธศาสนสถาปัตยกรรมไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สมคิด จิระทัศนกุล และคณะ. (2550). รูปแบบทางสถาปัตยกรรมของวัดในพระพุทธศาสนาในชุมชนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร. สมใจ นิ่มเล็ก. (2547). อุโบสถสถาปัตยกรรมไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. สมบัติประจญศานต์และคณะ. (2559). โครงการวิจัยภูมิปัญญาการก�ำหนดพื้นที่ภายในสิมอีสาน. บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏ บุรีรัมย์. สมบัติประจญศานต์และคณะ. (2556). โครงการวิจัยภูมิปัญญาท้องถิ่นในการออกแบบอุโบสถพื้นถิ่นที่สร้าง สภาวะสบาย : กรณีศึกษา อุโบสถในจังหวัดบุรีรัมย์. บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. . (2558). โครงการวิจัยภูมิปัญญาท้องถิ่นในการวางทิศทางสิมอีสาน : กรณีศึกษาจังหวัดบุรีรัมย์. บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัย ราชภัฏบุรีรัมย์. ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. (2557).จ�ำนวนพระภิกษุสงฆ์ สามเณรทั่วประเทศ. [ออนไลน์].ค้นจากhttps://www.m-society. go.th/ewt_news.php?nid=13651 เมื่อ 12 สิงหาคม 2558. ส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. (2544). รายงานส�ำรวจและวิจัยขนาดโครงสร้างร่างกายคนไทย ระยะที่ 4 ช่วงปี พ.ศ. 2543-2544 . กรุงเทพฯ : ส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกระทรวงอุตสาหกรรม. Ernst Neufert. (1980). Architects’ Data. London : BSP professional book.

หน่วยงานการอ้างอิง

การประชุมวิชาการระดับชาติ “โฮมภูมิ ครั้งที่ 3 : Wisdom to the Future : ภูมิปัญญาสู่อนาคต” คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 15 - 16 มิถุนายน 2560

ไฟล์แนบ

pdf 009-สมบัติ-ประจญศานต์

ขนาดไฟล์ 1 MB | จำนวนดาวน์โหลด 503 ครั้ง

ความคิดเห็น