1. Home
  2. Docs
  3. พลาสติกชีวภาพ: วัสดุทางเลือก

พลาสติกชีวภาพ: วัสดุทางเลือก

พลาสติกชีวภาพ: วัสดุทางเลือก

You are currently viewing a revision titled "พลาสติกชีวภาพ: วัสดุทางเลือก", saved on 13 มีนาคม 2021 at 06:49 by ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทรนันท์ ทวดอาจ
ชื่อ
พลาสติกชีวภาพ: วัสดุทางเลือก
เนื้อหา
  ปัจจุบันมีการศึกษาพบว่าวัสดุที่ถูกนำมาใช้ปริมาณมากคือพลาสติก เนื่องจากประโยชน์ที่หลากหลาย อย่างไรก็ตามปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบันคือผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเพราะว่าพลาสติกโดยทั่วไปผลิตจากปิโตรเลียม และมีอายุการย่อยสลายยาวนาน ดังนั้นจึงมีการพัฒนาพลาสติกชีวภาพจากธรรมชาติ เพื่อทดแทนหรือวัสดุทางเลือก เนื่องจากสามารถย่อยสลายได้ภายในระยะเวลาสั้น จากการศึกษาพบว่าพลาสติกชีวภาพที่พบมากคือ พอลิแลกติกแอซิด พอลิไฮดรอกซีบิวทิเรต และพอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอท ซึ่งผลิตจากผลผลิตทางการเกษตรหรือของเหลือทิ้งทางการเกษตร เช่น มันสำประหลัง ข้าวโพด อ้อย ฟางข้าว เป็นต้น และพบว่าระยะเวลาการย่อยสลาย 28-300 วัน นอกจากนั้นเมื่อปรับปรุงสมบัติพลาสติกชีวภาพ พบว่าสามารถนำมาประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวาง ส่งผลให้มีแนวโน้มการเพิ่มปริมาณกำลังการผลิตในสภาวการณ์โลก การศึกษาพบว่าวัสดุที่ถูกนำมาใช้ปริมาณมากคือพลาสติก เนื่องจากประโยชน์ที่หลากหลาย อย่างไรก็ตามปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบันคือผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเพราะว่าพลาสติกโดยทั่วไปผลิตจากปิโตรเลียม และมีอายุการย่อยสลายยาวนาน ดังนั้นจึงมีการพัฒนาพลาสติกชีวภาพจากธรรมชาติ เพื่อทดแทนหรือวัสดุทางเลือก เนื่องจากสามารถย่อยสลายได้ภายในระยะเวลาสั้น จากการศึกษาพบว่าพลาสติกชีวภาพที่พบมากคือ พอลิแลกติกแอซิด พอลิไฮดรอกซีบิวทิเรต และพอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอท ซึ่งผลิตจากผลผลิตทางการเกษตรหรือของเหลือทิ้งทางการเกษตร เช่น มันสำประหลัง ข้าวโพด อ้อย ฟางข้าว เป็นต้น และพบว่าระยะเวลาการย่อยสลาย 28-300 วัน นอกจากนั้นเมื่อปรับปรุงสมบัติพลาสติกชีวภาพ พบว่าสามารถนำมาประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวาง ส่งผลให้มีแนวโน้มการเพิ่มปริมาณกำลังการผลิตในสภาวการณ์โลก
เกริ่นนำ


Old New Date Created Author Actions
12 มีนาคม 2021 at 23:49 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทรนันท์ ทวดอาจ