ผู้วิจัย
Danai Nilsakul
บทคัดย่อ
การสำรวจรอยร้าวผนังก่ออิฐด้วยวิธีการตรวจเชิงพินิจเป็นกระบวนการหนึ่งที่มีความสำคัญในการอนุรักษ์สถาปัตยกรรม การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเครื่องมือตรวจสอบอาคารในภาคสนาม โดยใช้หลักการประเมินความเสียหายอาคารจากความกว้างของรอยร้าวใน 5 ระดับ และแนวคิดการระบุตำแหน่งรูปสามเหลี่ยมเพื่อตรวจสอบการเคลื่อนตัวของรอยร้าว อุปกรณ์นี้จึงสามารถประเมินระดับความเสียหายและตรวจสอบการทรุดตัวของอาคารเบื้องต้นได้ในอุปกรณ์เดียว
บรรณานุกรม
กรมโยธาธิการและผังเมือง. (2551). มาตรฐานการตรวจสอบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กด้วยวิธีการทดสอบแบบไม่ทำลาย. กรุงเทพฯ: สำนัก. บ้านทรุด รอยร้าวบนผนัง ดัชนีบอกสุขภาพอาคาร. (2558). [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2560, จาก https://dhawin.wordpress.com Burland, J.B. (1995). Assessment of damage in low-rise buildings. Bre Digest. 251. 250-257. Measuring cracks with telltale. (2011). [Online]. Retrieved January 30, 2019, from http://thehelpfulengineer.com/index.php/2011/05/ measuring-cracks –with-tell-tales/ Richardson, C. (1985). A J Guide to Structural Surveys. Architectural Press: London. Richardson, C. (1996). Structure movement. [Online]. Retrieved January 30, 2019, from http://www.buildingconservation.com/articles/movement/movement.htm
ความคิดเห็น