ผู้วิจัย

วิไลรัตน์ ยาทองไชย นิตยา โชติบุตร ศุภกฤษฎิ์ นิวัฒนากุล และจิติมนต์ อั่งสกุล

บทคัดย่อ

โดยทั่วไปการน าเสนอเนื้อหาการเรียนรู้ของระบบการเรียนรู้ออนไลน์นั้น จะประกอบด้วยวัตถุการเรียนรู้ที่ได้รับการออกแบบและถูกสร้างขึ้นตาม มาตรฐานของสกอร์ม ซึ่งในปัจจุบันวัตถุการเรียนรู้ได้ถูกเผยแพร่เป็น จ านวนมากในอินเทอร์เน็ต ดังนั้นการมีระบบในการจัดการวัตถุการ เรียนรู้ที่เหมาะสมและตรงตามความต้องการของผู้เรียนจึงเป็นสิ่งส าคัญ ในบทความนี้ได้น าเสนอวิธีการพัฒนาคลังวัตถุการเรียนรู้ส าหรับการ เรียนรู้ภาษาสืบค้นแบบมีโครงสร้าง (เอสคิวแอล) โดยใช้ออนโทโลยี ซึ่ง ออนโทโลยีของวัตถุการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นมาได้รับการออกแบบภายใต้ กรอบมาตรฐานหลักสูตรคอมพิวเตอร์ 2013 ขององค์กรเอซีเอมและไอ ทริปเบิ้ลอี/อีเอส เพื่อจัดเก็บวัตถุการเรียนรู้ภาษาเอสคิวแอล เมทาดาต้า ของวตัถุการเรียนรู้ และเครื่องมือในการค้นหาวัตถุการเรียนรู้ ซึ่งผลการ ทดสอบประสิทธิภาพในเบื้องต้นพบว่า การค้นหาวัตถุการเรียนรู้ภาษา เอสคิวแอลโดยใช้ออนโทโลยีมีค่าเอฟเมเซอร์สูงถึง 91.35%

บรรณานุกรม

[1] อนชุยั ธีระเรืองชยัศรี. Learning Object. [ออนไลน์]. เข้าถงึได้จาก : http://www.learnsquare.com/ download/ สบืค้น 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 [2] สถาบนัสง่เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) . รู้จักกับ Learning Object. [ออนไลน์]. เข้าถึง ได้จาก : http://203.146.15.109/lms/content/ สบืค้น 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 [3] Advanced Distributed Learning. 2009. Sharable Courseware Object Reference Model. Online Available: http://www.adlnet.gov/capabilities/scorm/ Retrieved December 16, 2012 [4] IEEE Learning Technology Standards Committee. 2005. Draft Standard for Learning Object Metadata, Online Available: http://ltsc.ieee.org/wg12/files/ Retrieved December 7, 2012 [5] Harman, K., and Koohang, A. 2005. Discussion board: A learning object. Interdisciplinary Journal of Knowledge and Learning Objects, 1, pp 67-77. [6] Koohang, A. 2004. A study of users’ perceptions toward e-learning courseware usability. International Journal on E-Learning, 3 (2), pp 10-17. [7] กิดานนัท์ มลทิอง. 2543. เทคโนโลยีการศึกษาและ นวตักรรม. พิมพ์ครัง้ที่ 2. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์. [8] IEEE Learning Technology Standards Committee (LTSC). 2003. IEEE P1484.12 Learning Object Metadata Working Group. Online Available: http://ltsc.ieee.org/wg12/index.html. Retrieved December 7, 2012 [9] Shishehchi, S., S. Banihashem, et al., 2010. A proposed semantic recommendation system for e-learning: A rule and ontology based e-learning recommendation system, IEEE. [10] W3C. 2004. RDF Vocabulary Description Language 1.0: RDF Schema. from W3C Recommendation. Online Available: http://www.w3.org/TR/rdf-schema/. Retrieved December 6, 2012 [11] W3C. 2004. SPARQL Query Language for RDF. Online Available: http:// www.w3.org/TR/rdf-sparqlquery. Retrieved December 7, 2012 [12] Qin J., and Hernandez N., 2004, Ontological representation of learning objects: building interoperable vocabulary and structures, International World Wide Web Conference archive, Proceedings of the 13th International World Wide Web conference on Alternate track papers & posters table of contents, ACM, New York, USA, pp 348-349. [13] Qin, J. and Finneran, C. 2002. Ontological representation of learning objects. In Proceedings of the Workshop on Document Search Interface Design and Intelligent Access in Large-Scale Collections, July 18, Portland. [14] Collis, B., and Strijker, A. 2003. Re-usable learning objects in context. International Journal on ELearning, 2(4), pp 5-16. [15] Wang, S. 2008. Ontology of learning objects repository for pedagogical knowledge sharing. Interdisciplinary Journal of E-Learning and Learning Objects, 4, 1–12.

ไฟล์แนบ

pdf SQLLearningObjectRepository_ActiCard

ขนาดไฟล์ 455 KB | จำนวนดาวน์โหลด 208 ครั้ง

ความคิดเห็น