ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อโศก ไทยจันทรารักษ์
Assistant Professor Dr.Asoke Thaichantararak
- ข้อมูลพื้นฐาน
วันเกิด 19 สิงหาคม 2520 จังหวัดบุรีรัมย์
ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง
– ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำสาขาวิชาศิลปศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
– หัวหน้าสาขาวิชาศิลปศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
– อาจารย์พิเศษ ระดับปริญญาเอก ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต หลักสูตรศิลปวัฒนธรรมวิจัย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ที่อยู่ 439/7 ถ.จิระ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ 31000
โทรศัพท์ 08 1967 6989
E-mail asokathai@gmail.com
สถานภาพ สมรสกับ นางภานรินทร์ ไทยจันทรารักษ์ อาจารย์สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์
2. ประวัติการศึกษา
คุณวุฒิ | ปี พ.ศ.
ที่สำเร็จการศึกษา |
ชื่อสถานศึกษา | จังหวัด |
ปริญญาเอก
ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศิลปวัฒนธรรมวิจัย) |
2558 | มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | กรุงเทพมหานคร |
ปริญญาโท
ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (ทัศนศิลป์ : ศิลปะสมัยใหม่) |
2549 | มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | กรุงเทพมหานคร |
ปริญญาตรี
ครุศาสตรบัณฑิต (ศิลปศึกษา) |
2543 | สถาบันราชภัฏบุรีรัมย์ | บุรีรัมย์ |
มัธยมศึกษา
(ศิลป์-คณิต) |
2539 | โรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม | บุรีรัมย์ |
3. ผลงานด้านวิชาการ ตำรา / เอกสารประกอบการสอน / บทความวิชาการและผลงานวิจัย
3.1 ประวัติการดำรงตำแหน่งวิชาการ
ดำรงตำแหน่ง | หน่วยงาน / สถาบันการศึกษา | ปี พ.ศ. |
อาจารย์
(อาจารย์อัตราจ้าง) |
สาขาวิชาศิลปศึกษา
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏบุรีรัมย์ |
1 มิถุนายน 2544 ถึง
30 พฤศจิกายน 2549 |
อาจารย์
(พนักงานมหาวิทยาลัย) |
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศิลปะและการออกแบบ
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ |
1 ธันวาคม 2549 ถึง
7 กรกฎาคม 2559 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
(พนักงานมหาวิทยาลัย) |
สาขาวิชาศิลปะดิจิทัล
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ |
8 กรกฎาคม 2559 ถึง
30 กันยายน 2560 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
(พนักงานมหาวิทยาลัย) |
สาขาวิชาศิลปศึกษา
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ |
1 ตุลาคม 2560 ถึง
ปัจจุบัน
|
3.2 ผลงานด้านวิชาการประเภทตำรา
ลำดับ | ชื่อตำรา | หน่วยงานที่เผยแพร่ | ปีที่พิมพ์และรายละเอียด |
1 | คอมพิวเตอร์กราฟิกเพื่อการออกแบบสิ่งพิมพ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
|
พ.ศ.2549
พิมพ์โดย โปรแกรมวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. จำนวน 95 หน้า |
2 | สุนทรียศาสตร์เพื่องานกราฟิก | มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
|
พ.ศ.2553
พิมพ์โดย โปรแกรมวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. จำนวน 116 หน้า |
3 | สุนทรียภาพในการรับรู้
|
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ |
พ.ศ.2558 เลขมาตรฐานหนังสือ
isbn : 978-616-382-220-8 โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. จำนวน 173 หน้า |
3.3 ผลงานเอกสารประกอบการสอน
ลำดับ | ชื่อเอกสารประกอบการสอน | หน่วยงานที่เผยแพร่ | ปีที่พิมพ์และรายละเอียด |
1 | ประวัติศาสตร์การออกแบบ
|
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ |
พ.ศ.2559 เลขมาตรฐานหนังสือ
isbn : 978-616-361-888-7 โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. จำนวน 221 หน้า |
2 | สุนทรียภาพในการออกแบบ
|
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
พ.ศ.2559 โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
จำนวน 219 หน้า |
3 | ประวัติศาสตร์ศิลปะและการออกแบบตะวันตก
|
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ | พ.ศ.2560 เลขมาตรฐานหนังสือ
isbn : 978-616-361-888-7 โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ จำนวน187 หน้า |
4 | ประวัติศาสตร์ศิลปะและการออกแบบตะวันออก | มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ | พ.ศ.2561 โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
จำนวน 157 หน้า |
5 | ศิลปกรรมในภูมิภาคอาเซียน | มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ | พ.ศ.2561 โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
จำนวน 160 หน้า |
6 | ประวัติศาสตร์ศิลป์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี |
พ.ศ.2561 โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
จำนวน 221 หน้า |
7 | สุนทรียภาพและจริยธรรมในการดำรงชีวิต (ทัศนศิลป์) | มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ | พ.ศ.2562 โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
จำนวน 114 หน้า |
3.4 ผลงานเอกสารประกอบการอบรม
ลำดับ | ชื่อเอกสารประกอบการอบรม | หน่วยงานที่เผยแพร่ | ปีที่พิมพ์และรายละเอียด |
1. | การออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์ศิลปะ | โปรแกรมวิชาศิลปกรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ | พ.ศ.2547
พิมพ์ที่ศูนย์ถ่ายเอกสาร ซีพี จำนวน 50 หน้า |
2. | คอมพิวเตอร์ศิลปะการตกแต่งภาพและสร้างภาพเคลื่อนไหว | สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศิลปะและการออกแบบ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ |
พ.ศ.2548
พิมพ์ที่ศูนย์ถ่ายเอกสาร ซีพี จำนวน 72 หน้า |
3 | การตัดต่อวีดีโอด้วยโปรแกรม Abode Premiere Pro | ศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนเทคโนโลยีสารสนเทศและการเรียนรู้ (ICT) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม เขต ๓๒ บุรีรัมย์ | พ.ศ.2554
พิมพ์ที่ศูนย์ถ่ายเอกสาร ซีพี จำนวน 85 หน้า |
4 | คอมพิวเตอร์ศิลปะเพื่อครูศิลปะ
|
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศิลปะและการออกแบบ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ |
พ.ศ.2554
พิมพ์ที่ศูนย์ถ่ายเอกสาร ซีพี จำนวน 100 หน้า |
5 | การออกแบบกราฟิกสิ่งพิมพ์ระบบดิจิทัล | สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศิลปะและการออกแบบ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ |
พ.ศ.2554
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. จำนวน 106 หน้า |
3.4 บทความวิชาการและบทความวิจัยที่ตีพิมพ์
ลำดับ | ชื่อบทความ | ชื่อวารสาร | ฉบับที่ตีพิมพ์ | ฐานวารสาร |
1 | การผลิตศิลปกรรม แรงบันดาลใจจากปราสาทเขาพนมรุ้ง
Art production with inspiration from Phanom Rung Sanctuary |
รมยสาร | ปีที่ 13 ฉบับที่ 12
หน้า 113-124 วันที่ตีพิมพ์ 1 พ.ค.2558 |
TCI 1 |
2 | การสร้างสรรค์จิตรกรรม “แรงบันดาลใจจากภาพสลักปราสาทหินพนมรุ้ง” | วารสารศิลปะและวัฒนธรรม “ศิลปกรรมอนุภาคลุ่มน้ำโขง” | ปีที่ 5 ฉบับที่ 1
มกราคม-มิถุนายน 2562 |
วารสารมีผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณา |
3 | การสืบสานมรดกภูมิปัญญาศิลปวัฒนธรรม กลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดบุรีรัมย์ | วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ | ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2564
หน้า 25-37 |
รับรองโดย สภามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ |
4 | การรวบรวมมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม สู่การสร้างอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ ในจังหวัดบุรีรัมย์ | มนุษยสังคมสาร
(วารสารวิชาการของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์) |
วารสารมนุษยสังคมสาร ปีที่ 19 ฉบับที่ 2
พฤษภาคม – สิงหาคม 2564 หน้า 109-122 |
TCI 2 |
3.5 ผลงานวิจัย
ลำดับ | ชื่อผลงาน | หน่วยงานที่ให้ทุน | ปี พ.ศ. |
1 | การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการเผยแพร่และสนับสนุนการดำเนินงานอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น จังหวัดบุรีรัมย์ | สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม | 2562 |
2 | เครื่องประดับเอกลักษณ์จากกลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดบุรีรัมย์ (ในฐานะที่ปรึกษาวิจัยเชิงพื้นที่) ภายใต้โครงการ “โครงการพัฒนาเครื่องประดับชนเผ่า เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมดินแดนอีสานใต้” | สถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน) | 2563 |
3 | การจัดทําข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมชุมชนท้องถิ่นจังหวัดบุรีรัมย์ | โครงการบริหารจัดการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) | 2563 |
4 | การสำรวจหมู่บ้านศิลปกรรมอันควรอนุรักษ์ ตามโครงการมรดกแห่งชาติ แหล่งชุมชนโบราณบ้านเมืองไผ่ ตำบลเมืองไผ่ อำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ | สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม | 2563 |
5 | การพัฒนาเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงเกษตรเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก
อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ |
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
|
2565 |
3.6 ประวัติการแสดงผลงานนิทรรศการศิลปกรรม
พ.ศ. 2539 – 2547 นิทรรศการศิลปกรรมประจำปีของชมรมศิลปวัฒนธรรม ครั้งที่ 19, 21, 22, 25
พ.ศ. 2540 นิทรรศการศิลปกรรม ศิลปินกลุ่มสัมทรีย์ ครั้งที่ 2 “ร้อยสีอีสาน”
พ.ศ. 2542 นิทรรศการศิลปกรรมกลุ่มศิลปิน “สิปปะ” จ.บุรีรัมย์
พ.ศ. 2543 นิทรรศการสีน้ำคณาจารย์ราชภัฏอีสาน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
พ.ศ. 2544 นิทรรศการผลงานศิลปกรรมร่วมสมัยกลุ่มศิลปินอีสาน และกลุ่มศิลปินสาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว ครั้งที่ 8 ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
พ.ศ. 2545 ศิลปกรรมประกันคุณภาพ 8 คณาจารย์ศิลปะราชภัฏบุรีรัมย์
พ.ศ. 2546 ศิลปกรรมเฉลิมพระเกียรติ 48 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ณ หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพฯ
พ.ศ. 2547 นิทรรศการผลงานศิลปกรรม กลุ่มศิลปินอีสาน ครั้งที่ 9 ณ โรงเรียนวิจิตรกรรม แขวงหลวง
พระบาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
พ.ศ. 2550 นิทรรศการศิลปกรรมเทิดพระเกียรติ 80 พรรษา “เพื่อพ่อผู้พอเพียง” กลุ่มศิลปินเมืองแปะ บริเวณหน้าจวนผู้ว่าจังหวัดบุรีรัมย์
พ.ศ. 2551-2552 นิทรรศการศิลปกรรมศิลปินอีสาน ครั้งที่ 11 มหาวิทยาลัยขอนแก่น, หน้าจวนผู้ว่าจังหวัด
บุรีรัมย์, ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
พ.ศ. 2553 นิทรรศการศิลปกรรม “Abstracts Painting” โดย ศาสตราจารย์พิเศษอารี สุทธิพันธุ์ และนิสิต
ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาศิลปวัฒนธรรมวิจัย รุ่น 3 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ
ร้านเหมือนฝัน กรุงเทพฯ
พ.ศ. 2555 – 2559 นิทรรศการศิลปกรรมกลุ่มเมืองแปะ “ศิลปินผู้สร้างสรรค์ศิลปกรรม จ.บุรีรัมย์” โดยจัดแสดง
ผลงานนิทรรศการศิลปกรรมในจังหวัดบุรีรัมย์ ทุกปี
พ.ศ. 2558 นิทรรศการเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เนื่องในโอกาสเสด็จเปิดอาคาร
สิริวิชญากร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
พ.ศ. 2559 นิทรรศการ กลุ่ม OUTSIDE IN 2 “innovation Art” ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
จังหวัดพิษณุโลก
– ศิลปกรรมลุ่มน้ำโขงสัญจร ครั้งที่ 2 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุรินทร์ และมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
– นิทรรศการศิลปกรรมร่วมสมัย “ถวายบังคมพระทรงฉัตร รัชกาล ผู้ทรงผ่าน แผ่นดินพบ บรรจบฟ้า” เพื่อถวายความอาลัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ อาคาร นวัตปัญญา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
พ.ศ. 2560 – นิทรรศการศิลปกรรม “ฮักแพงแจ้งใจ” สถาบันวิจิตรศิลป์แห่งชาติ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และสัญจรที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น
พ.ศ. 2561 – นิทรรศการศิลปกรรมอนุภาคลุ่มแม่น้ำโขง ณ วิทยาลัยศิลปะ มหาวิทยาลัยเว้ ประเทศเวียดนาม
พ.ศ. 2562 – นิทรรศการศิลปกรรมอนุภาคลุ่มแม่น้ำโขง ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ และมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
พ.ศ. 2563 – นิทรรศการศิลปกรรมอนุภาคลุ่มแม่น้ำโขง ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
แนวทางการสร้างสรรค์ผลงาน
มีความสนใจในการสร้างสรรค์ผลงาน 2 แนวทาง
- ด้านความงามของปราสาทขอม โดยศึกษาในส่วนของเนื้อหาและรูปแบบที่ปรารกฏ เพื่อนำมาเป็นแรงบันดาลใจในการถ่ายทอดเป็นผลงานศิลปะในรูปแบบใหม่ ตามสื่อวัสดุใหม่ นำเสนอเป็นผลงานจิตรกรรมในรูปแบบประยุกต์เนื้อหาและเทคนิคใหม่ๆ
- สร้างสรรค์ผลงานในรูปแบบของลัทธินีโออิมเพรสชั่นนิส โดยการวาดในสิ่งที่ประทับใจและ อาศัยการนำเสนอหลักการทางวิทยาศาสตร์ เรื่องการเห็นสีและการผสมสีด้วยสายตา ด้วยการจุดสีและ การวางตำแหน่งสีเพื่อให้เกิดปรากฏการณ์ทางการเห็น
4. ประสบการณ์ในการบริหารงานในสถาบันอุดมศึกษา
ดำรงตำแหน่ง | หน่วยงาน / สถาบันการศึกษา | ปี พ.ศ. |
หัวหน้าสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศิลปะและการออกแบบ
|
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศิลปะและการออกแบบ
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ |
1 มิถุนายน 2550 ถึง
30 กันยายน 2554 และ 1 ตุลาคม 2556 ถึง 30 กันยายน 2558 |
กรรมการสภามหาวิทยาลัย
ประเภทตัวแทนจากอาจารย์ประจำ |
สภามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ | 19 มีนาคม 2557 ถึง
19 มีนาคม 2560 |
เลขานุการอธิการบดี | กองกลาง สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ | พ.ศ. 2547-2553 |
กรรมการสภาคณาจารย์และ ข้าราชการ | สภาคณาจารย์และ ข้าราชการ | 10 เมษายน 2561 ถึง มีนาคม 2563 |
ประธานหลักสูตร | หลักสูตรศิลปศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ | มิถุนายน 2563 ถึง 2564 |
รองผู้อำนวยการสำนัก | สำนักศิลปะและวัฒนธรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ |
1 ธันวาคม 2560 ถึง 2564 |
ผลงานที่โดดเด่น
พ.ศ. 2548 ก่อตั้งสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็นสาขาวิชาศิลปะดิจิทัล)
พ.ศ. 2555 ก่อตั้งโรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
5. การเป็นที่ยอมรับของสังคมภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
5.1 ในฐานะการได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ
พ.ศ. 2558 เป็นผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์หลักสูตรศิลปกรรมศาสตร์บัณฑิต (สาขาศิลปกรรม) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
พ.ศ. 2560 เป็นผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลงานวิจัยเพื่อขอรับเงินสนับสนุนงานวิจัยของนักศึกษา สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
พ.ศ.2559 เป็นผู้ทรงคุณวุฒิให้ข้อมูลและให้สัมภาษณ์ แก่ พระมหาชวี อิสฺสโร นิสิตหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธจิตวิทยา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ. 2560 เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ พิจารณาข้อเสนอโครงการวิจัย เพื่อรับการสนับสนุนทุนวิจัย ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
พ.ศ. 2560-2561 เป็นผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความวารสาร “รมยสาร” โดย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
พ.ศ. 2564 เป็นผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์หลักสูตรประกาศนียบัตร การวาดเส้นพื้นฐาน (หลักสูตรระยะสั้น) พ.ศ. 2564 สาขาวิชาศิลปะดิจิทัล คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
พ.ศ. 2560-2564 เป็นกรรมการสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลสามแวง อ.ห้วยราช จ.บุรีรัมย์
พ.ศ. 2561 เป็นอนุกรรมการประเมินผลการสอน พิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชาศิลปกรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
พ.ศ.2562 เป็นผู้ประเมินอิสระ (Peer reviewer) ในการพิจารณาบทความวิจัยตีพิมพ์ในรายงานหลังการประชุม โครงการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 3 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
พ.ศ. 2559-2564 เป็นผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความ วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม โดย วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
พ.ศ. 2562-2564 เป็นกองบรรณาธิการประจำวารสารวิชาการศิลปวัฒนธรรมอีสาน โดยสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
พ.ศ. 2563 เป็นผู้ทรงคุณวุฒิประเมินคุณภาพผลงานทางวิชาการ ในการกำหนดขอตำแหน่งทางวิชาการ สาขาวิชาศิลปกรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
พ.ศ. 2563 เป็นผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความวารสาร “มนุษยสังคมสาร(มมส.)” โดย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
พ.ศ. 2563 ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษาโครงการการพัฒนาเครื่องประดับชนเผ่า เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมแห่งดินแดนอีสานใต้ จากสถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
พ.ศ. 2563 เป็นผู้ทรงคุณวุฒิให้ข้อมูลและให้สัมภาษณ์ ด้านการสร้างผลงานศิลปะ แก่นิสิตสาขาทัศนศิลป์และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
พ.ศ. 2564 เป็นผู้อ่านพิจารณาบทความวิจัยและบทความวิชาการ (Peer reviewer) ในการจัดการประชุมวิชาการและนิทรรศการระดับชาติด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สำหรับปริญญาตรี ครั้งที่ 1 โดย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
พ.ศ. 2564 ได้รับการแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษาโครงการตลาดออนไลน์จำหน่ายสินค้าวัฒนธรรม ของคนไทยยุคใหม่ โดย กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับ บริษัท เน็คซ์ทูบี จำกัด
5.2 ในฐานะการได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการตัดสินการประกวด
พ.ศ. 2554 กรรมการตัดสินการแข่งทักษะทางคอมพิวเตอร์ การใช้โปรแกรม Photoshop จัดโดย คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
พ.ศ. 2554 กรรมการตัดสินการประกวดการออกแบบตราสัญลักษณ์ งาน “40 ปี วิทยาลัยครูสู่มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
พ.ศ. 2554-2565 กรรมการตัดสินการประกวดรถในขบวนแห่ งานเทศกาลข้าวมะลิหอม ปลาจ่อมกุ้งชมทุ่งนกประโคนชัย โดย เทศบาลประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์
พ.ศ. 2555-2565 กรรมการตัดสินการประกวดเทียนพรรษางานประเพณีแห่เทียน เทศบาลประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์
พ.ศ. 2555 กรรมการตัดสินการประกวดวาดภาพระบายสี จัดโดย ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองบุรีรัมย์
พ.ศ. 2555 กรรมการตัดสินการประกวดหนังสั้น จัดโดย ศูนย์เครือข่ายนาโนพลัส ภาคตะวันออเฉียงเหนือ ร่วมกับคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
พ.ศ. 2556 กรรมการตัดสินการประกวดสิ่งประดิษฐ์จากของเหลือใช้ จัดโดย สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดบุรีรัมย์
พ.ศ. 2557 กรรมการตัดสินการประกวดวาดภาพงาน “รับอรุณเบิกฟ้าวันปีใหม่ ณ พนมรุ้ง” จัดโดย อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์
พ.ศ. 2560 กรรมการตัดสินการประกวดเว็บไซต์ จัดโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
พ.ศ. 2560-2562 กรรมการตัดสินการประกวดเทียนพรรษางานประเพณีแห่เทียน เทศบาลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
พ.ศ. 2560-2563 กรรมการตัดสินการประกวดพานไหว้ครู กองพัฒนานักศึกษา สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
พ.ศ. 2560 กรรมการตัดสินการประกวดแข่งขันวาดภาพระบายสี งานมหกรรมฟอสซิลเฟสติวัล ครั้งที่ 4 จัดโดย สถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินและทัพยากรธรณีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
พ.ศ. 2560-2562 กรรมการตัดสินการประกวดกระทงใหญ่ งานประเพณีลอยกระทงเทศบาลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
พ.ศ. 2560-2564 กรรมการตัดสินการประกวดแข่งขันวาดภาพจินตนาการทางวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
พ.ศ. 2560-2563 กรรมการตัดสินการประกวดกระทง งานประเพณีลอยกระทง โดย กองพัฒนานักศึกษา สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
พ.ศ. 2561 เป็นกรรมการพิจารณาผลงาน การประกวดตราสัญลักษณ์การแข่งขัน (Logo) และการประกวดสัญลักษณ์สัตว์นำโชคการแข่งขัน (Mascot) การแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 35 “บุรีรัมย์เกมศ์” ณ จังหวัดบุรีรัมย์
พ.ศ. 2561 กรรมการตัดสินการแข่งขัน การเขียนภาพจิตรกรรมไทยสีเอกรงค์ ระดับชั้น ม.1- ม.3 ในงาน “มหกรรมความสามารถทางศิลปหัตถกรรม วิชาการ และเทคโนโลยี ของนักเรียนปีการศึกษา 2561” ระดับชาติ กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย สำนักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2
พ.ศ. 2564 เป็นคณะกรรมการตัดสิน “ทักษะการออกแบบเขียนแบบผลิตภัณฑ์” ในงานประชุมวิชาการองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย การแข่งขันทักษะวิชาชีพและทักษะพื้นฐาน ระดับภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 30 ประจำปีการศึกษา 2563 โดย สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
- การได้รับเชิญให้เป็นวิทยากร / เป็นกรรมการ (พ.ศ. 2554-2564)
วัน เดือน ปี | เนื้อหาที่บรรยาย | หน่วยงานที่เชิญ |
2-3 มีนาคม 2554 | การออกแบบสื่อพิมพ์พิมพ์สำหรับงานทางวัฒนธรรม โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop และ Adobe Illustrator | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
6-7 ก.ค. 2554 | การตัดต่อวีดีโอด้วยโปรแกรม Abode Premiere Pro | ศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนเทคโนโลยีสารสนเทศและการเรียนรู้ (ICT) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม เขต ๓๒ บุรีรัมย์ |
17-30 มิ.ย.2557 | การทำซีลสกรีนเสื้อ ในโครงการสร้างปละพัฒนาผู้ประกอบการโดยใช้องค์ความรู้ในอุดมศึกษาเป็นฐาน | ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ |
7 ก.พ. 2557 | มุมมองศิลปะปัจจุบัน สู่อนาคต | สาขาวิชาศิลปศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ |
11-12 ม.ค.2557 | การจัดรูปแบบหนังสือด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป | สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ |
24 – 26 ก.ค. 2558 | การเขียนและการออกแบบหนังสือด้วยคอมพิวเตอร์ออกแบบกราฟิก | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ |
9 – 10 ส.ค. 2560 | เสวนาเรื่อง มูลค่าและคุณค่าของผลงานศิลปะ | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
28-29 มิถุนายน 2560 | การใช้จักรยานเป็นพาหนะในการเดินทางภายในมหาวิทยาลัยและในชีวิตประจำวัน แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ | กองพัฒนานักศึกษา สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ |
4 และ 11 ตุลาคม 2560 | การใช้โปรแกรม Adobe InDesign ในการจัดทำวารสารวิชาการ | สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ |
10 มีนาคม 2562 | การพัฒนาทักษะด้านคอมพิวเตอร์ออกแบบ | สาขาวิชาภูมิสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ |
๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ | การระดมความคิดเห็นเพื่อการจัดทำหลักสูตรและการขยายผลการส่งเสริมและยกระดับการบริหารจัดการ สภาวัฒนธรรมในระดับภูมิภาค เพื่อการยกระดับคุณค่าทางวัฒนธรรมของท้องถิ่น ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน | มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ร่วมกับกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม |
25 เมษายน 2561 | การสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ในยุคดิจิทัล ให้แก่บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ | งานประชาสัมพันธ์ กองกลาง สำนักงานอธิการบดี |
15 พฤษภาคม 2562 | การผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ประยุกต์ ให้แก่บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ | งานประชาสัมพันธ์ กองกลาง สำนักงานอธิการบดี |
18-19 มิถุยายน 2563 | การจัดการเรียนรู้ด้านหลักสูตร แก่คณาจารย์คณะครุศาสตร์ | คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ |
26 กรกฎาคม 2563 | คอมพิวเตอร์ออกแบบสำหรับนักภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ | สาขาวิชาภูมิสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ |
1 มีนาคม 2564 | บรรยายเรื่อง ภูมิปัญญาและอัตลักษณ์ท้องถิ่น ณ โรงแรมสีมาธานี จังหวัดนครราชสีมา | สถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน) |
3-4 มีนาคม 2564 | บรรยายเรื่อง ภูมิปัญญาและอัตลักษณ์ท้องถิ่น และคัดเลือกผู้ประกอบการเพื่อบ่มเพาะ ณ โรงแรมเรย์โฮเทล จังหวัดบุรีรัมย์ | สถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน) |
8 มีนาคม 2564 | การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการปรับแต่งภาพถ่ายในรูปแบบต่าง ๆ | สาขาวิชาภูมิสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ |
ความคิดเห็น