ผู้วิจัย
ธราทิตย์ เกตุหอม, ไพรัชช์ จันทร์งาม
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการ สร้างความรู้ เรื่อง โครงสร้างคณิตศาสตร์ของระบบเซต และส่งเสริม พัฒนาทักษะการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ ด้านการเขียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ จ านวน 27 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการท าวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง โครงสร้างคณิตศาสตร์ของระบบเซต ที่ใช้สอนกลุ่มตัวอย่างที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้ แบบวัดทักษะการสื่อสาร ทางคณิตศาสตร์ด้านการเขียน เรื่อง โครงสร้างคณิตศาสตร์ของระบบเซต ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นแบบอัตนัย โดยใช้ สถิติ t-test for One Sample ผลการวิจัยพบว่า ทักษะการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ ด้านการเขียนหลังได้รับ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้เรื่อง โครงสร้างคณิตศาสตร์ของระบบเซต ส าหรับ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 70 อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 The purposes of this research were to the Development of learning activities based on constructivist theory on mathematical written communication skills on mathematical structure of set system for fourth year of Mathematics Majors, Faculty of Education, Buriram Rajabhat University. The subjects of this study were 27 of mathematics majors, faculty of Education, Buriram Rajabhat University. They were randomly selected by using purposive sampling. The instruments were lesson plans and mathematical written communication skills on mathematical structure of set system test. The data were statistically analyzed by using t-test for one sample. The findings were as follows: The mathematical written communication skills of real number of sample group after obtaining learning activities based on constructivist theory was statistically higher than 70 percent criterion at .05 level.
บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2553). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 12). นนทบุรีฯ: ไทเนรมิตกิจ อินเตอร์ โปรเกรสซิฟ. ธราทิตย์ เกตุหอม. (2559). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้ เรื่อง จ านวนจริง ที่มีต่อทักษะสื่อสารทางคณิตศาสตร์ด้านการเขียนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาการสอนคณิตศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา. พัชรีย์ กาท ามา. (2558). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ที่ เน้นทักษะการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ เรื่องรูปสามเหลี่ยม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยนิพนธ์ ป ริญญ าศึกษ าศ า ส ต รมห าบัณฑิต , ส า ข าหลั กสู ต ร แล ะก า ร ส อน , บัณฑิต วิท ย า ลั ย , มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2543). เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น. ศศิธร แม้นสงวน. (2555). พฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ 2. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์รามค าแหง. ศิริ แคนสา. (2547). การพัฒนาการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เซต ตามแนวทฤษฎีการสร้างสรรค์ ความรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต, สาขาหลักสูตรและการ สอน, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สถาบันการส่งเสริมสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.). (2555). ทักษะและกระบวนการทาง คณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ: 3-คิว มีเดีย. อัมพร ม้าคนอง. (2546). คณิตศาสตร์ : การสอนและการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: ศูนย์ต าราและเอกสารทาง วิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Steffe L. P. (1991) The constructivist teaching experiment: Illustrations and implications. In: Glasersfeld E. von (ed.), Radical constructivism in mathematics education. (pp. 177–194). Dordrech, The Netherland: Kluwer academic.
หน่วยงานการอ้างอิง
วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
ความคิดเห็น