ผู้วิจัย

สุพัตรา วงศ์ศรียา* สิทธิกร เณรเถา อณุศาสตร์ มุขสาร และสมานชาญ จันทร์เอี่ยม

บทคัดย่อ

ระบบดาวคู่สเปกโทรสโกปี BZ Eridani จำแนกตามวิวัฒนาการจัดเป็นระบบดาวคู่แบบกึ่งแยกกัน ทำการเก็บข้อมูลด้วยกล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.7 เมตร ณ หอดูดาวเฉลิมพระเกีรยติ 7 รอบ พระชนมพรรษา จังหวัดนครราชสีมา เชื่อมต่อกับเครื่องซีซีดีสเปกโทรกราฟ ในช่วงความยาวคลื่น 4355.050 ถึง 7110.200 Å ระหว่างวันที่ 23, 24 มกราคม 2561 และ 5 กุมภาพันธ์ 2561 รวมระยะเวลาทั้งหมด 3 วัน ข้อมูลสเปกตรัมที่ได้นำมาวิเคราะห์ธาตุองค์ประกอบหลักของระบบดาวคู่ และคำนวณหาค่าความเร็วในแนวเล็ง เพื่อสร้างกราฟความเร็วในแนวเล็ง และแบบจำลอง โดยใช้สเปกตรัมของดวงอาทิตย์เป็นสเปกตรัมเปรียบเทียบ ผลที่ได้แสดงให้เห็นว่าระบบดาวคู่สเปกโทรสโกปี BZ Eridani อยู่ในชนิดสเปกตรัม G มีธาตุองค์ประกอบหลักของระบบดาวคู่ ได้แก่ H - alpha, H - beta, Na I และ Mg I อุณหภูมิพื้นผิวของระบบเฉลี่ย 6,000 เคลวิน จากแผนภาพเฮิทซ์ปรุง - รัสเซลล์ และได้แบบจำลองระบบดาวคู่สเปกโทรสโกปี BZ Eridani เป็นระบบดาวคู่แบบกึ่งแยกกัน คำสำคัญ: ระบบดาวคู่สเปกโทรสโกปี ระบบดาวคู่แบบกึ่งแยกกัน สเปกตรัม

บรรณานุกรม

1. เฉลา วงศ์แสง. 2545. การวิเคราะห์เส้นสเปกตรัมสว่างของระบบดาวคู่อุปราคาปีตาไลรี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย เชียงใหม่. 2. เชิดตระกูล หอมจำปา. 2553.โครงสร้างกายภาพของระบบดาวคู่แบบใกล้ชิด. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏ ยะลา. 3. ธนวัฒน์ รังสูงเนิน. 2558. การเปลี่ยนคาบวงโคจรและวิวัฒนาการของระบบดาวคู่อัล กอล จีพี เพก. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. 4. ธนา ยีรัมย์. 2548. โครงสร้างทางกายภาพของระบบดาวคู่อุปราคา วี1061 ทอไร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 5. นภาพร อะทะโน. 2557. การสังเกตการณ์และการวิเคราะห์ระบบดาวคู่ อาร์ คานิส เมเจอร์ริส โดยเทคนิคโฟโตเมตรีและสเปกโทรสโกปี. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 6. บุญรักษา สุนทรธรรม, 2551. การวิเคราะห์คุณสมบัติทางกายภาพและการวิวัฒนาการ ของระบบดาวคู่แบบเกือบแตะกันบางระบบ. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 7. บุญรักษา สุนทรธรรม. (2550). ดาราศาสตร์ฟิสิกส์. เชียงใหม่. สถาบันวิจัยดาราศาสตร์ แห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 8. บุญรักษา สุนทรธรรม. 2549. การวิเคราะห์คุณสมบัติทางกายภาพของดาวคู่อุปราคา ดับเบิลยู เออซ่าร์ เมเจอร์ โดยเทคนิคโฟโตเมตรี แบบซีซีดี. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 9. ปิยฉัตร กาบทุม และคณะ. 2556. สมบัติทางกายภาพของระบบดาวคู่ AT Aquarii. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงใหม่. 10. ศิรามาศ โกมลจินดา. 2546. โครงสร้างกายภาพของระบบดาวคู่แบบแตะกัน อาร์ แซด ทอรี.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 11. ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์, (2551). ปรากฏการณ์ดอป เปลอร์, 23 ตุลาคม 2560. http://www.lesa.biz/astronomy/light/doppler-effect 12. ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์, (2551). แผนภาพแฮรท์สชปรุง – รัส เซลล์ (H – R Diagram), 23 ตุลาคม 2560. http://www.lesa.biz/astronomy/star- properties/hr-diagram 13. ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์, (2551). สเปกตรัมของดาว, 23 ตุลาคม 2560. http://www.lesa.biz/astronomy/star- properties/stellar-spectrum 14. สุพัตรา วงศ์ศรียา. 2556. สมบัติทางกายภาพของระบบดาวคู่แบบกึ่งแยกกัน จีดับเบิลยู คารินา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 15. เสาวลักษณ์ ปัญญามี จุฑามาศ วังรัก และ วิระภรณ์ ไหมทอง. 2558. การเปลี่ยนแปลง คาบการแปรแสงของระบบดาวคู่ XY Leonis จากภาพถ่ายด้วยกล้องดิจิตอล DSLR. ปริญญานิพนธ์ระดับปริญญาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. 16. อมรรัตน์ อังเวโรจน์วิทย์. 2541. การวิเคราะห์สมบัติทางกายภาพของระบบดาวคู่ อาร์ ที ลาเซอที โดยเทคนิควิลสันและเดวินนี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 17. อัจฉรา ธีรวิทยานุกุล. 2551. การเปลี่ยนแปลงคาบการโคจรของระบบดาวคู่ บีแซด อีริ ดานี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย เชียงใหม่. 18. Kämper, B. – C. (1986). Period variations in BZ Eridani. Retrieved October 22, 2017, from The SAO/NASA Astrophysics Data System :http://adsabs.harvard.edu/abs/1987Ap%26SS.129..407K 19. National Schools’ Observatory. (2016). เทคนิคสเปกโทรสโกปี, 23 ตุลาคม 2560.https://www.narit.or.th/files/NAS/stellar/TH_Stellar_Classifica tion.ppt 20. R.K.Srivastava. (1985). Period variations in BZ Eridani.. Retrieved October 22, 2017, from The SAO/NASA Astrophysics Data System :http://adsabs.harvard.edu/abs/1986Ap%26SS.121..317S 21. Saitou, M. S.; Okazaki, A. (2002). CCD Photometry of the Eclipsing Binary BZ Eridani. Retrieved October 22, 2017, from The SAO/NASA Astrophysics Data System:http://adsabs.harvard.edu/abs/2002aprm.conf..457S 22. Simbad Astronomical Database. (2016). V* BZ Eri Eclipsing binary of Algol type. Retrieved October 22, 2017 from Simbad Astronomical Database: http://simbad.u-strasbg.fr/simbad/sim- basic?Ident=BZ+Eridani&submit= SIMBAD+search 23. Srivastava, R. K. and Sinha, B. K. (1981) A Note on BZ Eridani. Retrieved October 22, 2017, from The SAO/NASA Astrophysics Data System :http://adsabs.harvard.edu/abs/1981IBVS.1919....1S 24. Srivastava, R. K. and Uddin, Wahab. (1986). Photometric study of BZ Eridani. Retrieved October 22, 2017, from The SAO/NASA Astrophysics Data System: http://adsabs.harvard.edu/abs/1986Ap%26SS.126..105S 25. Srivastava, R. K. and Sinha, B. K. (1981). Three colour photometry of BZ Eridani. Retrieved October 22, 2017, from The SAO/NASA Astrophysics Data System :http://adsabs.harvard.edu/abs/1981BASI....9...84S 26. Srivastava, R. K. and Uddin, W. (1985). Photoelectric Minima of BZ Eridani. Retrieved October 22, 2017, from The SAO/NASA Astrophysics Data System :http://adsabs.harvard.edu/abs/1985IBVS.2806....1S 27. Srivastava, R. K.. (1986). Period Variation of Bz-Eridani. Retrieved October 22, 2017, from The SAO/NASA Astrophysics Data System :http://adsabs.harvard.edu/abs/1987Ap%26SS.129..409S

หน่วยงานการอ้างอิง

กลุ่มวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 31000, สาขาวิชาฟิสิกส์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 31000, สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000

ความคิดเห็น