ผู้วิจัย
Danai Nilsakul
บทคัดย่อ
สำนึกในถิ่นที่ แสดงถึงความสัมพันธ์ของคนกับสถานที่ ซึ่งความสัมพันธ์เป็นนามธรรม มีความคลุมเครือและซับซ้อน นำไปสู่การออกแบบอุปกรณ์วัดสำนึกในถิ่นที่ โดยใช้แนวคิดการสำรวจสำนึกในถิ่นที่จากองค์ประกอบในด้านประสบการณ์ ความเป็นเจ้าของ ความผูกพัน และการมีส่วนร่วม เป็นเกณฑ์ในการออกแบบ และแสดงผลความสัมพันธ์ในรูปแบบของลักษณะการดำรงอยู่แบบคนในและคนนอก สิ่งประดิษฐ์นี้จึงเป็นเครื่องมือวัดสำนึกในถิ่นที่ที่เป็นรูปธรรม สามารถสะท้อนความสัมพันธ์และคุณภาพทางสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเรา นอกจากนั้นยังใช้เป็นแนวทางในการรักษาและพัฒนาสถานที่ให้สอดคล้องกับการดำรงอยู่ของคนได้
บรรณานุกรม
[1] ปิยลดา เทวกุล ทวีปรังสีพร, ม.ล. (2554). คำ ความคิด สถาปัตยกรรม. กรุงเทพฯ: ลายเส้น. [2] Relph, E. (1976). Place and placelessness. London: Pion. [3] Seamon, D., & Sowers, J. (2008). Place and Placelessness, Edward Relph. In P. Hubbard, R. Kitchen & G. Valentine (Eds.). Human Geography. (pp. 43-51). London: Sage. [4] Steele, F. (1981). The sense of place. Boston: CBI Publishing. [5] Cobb, E. (1977). The ecology of imagination childhood. London: Routled and Keegan Paul. [6] Najafi, M., and Kamal, M. (2011). The concept of place and sense of place in architecture studies. Online Journal of World Academy of Science, Engineering and Technology, 56. Retrieved January 20, 2013, form http://waset.org/publications/14034/the-concept-of-place-and-sense-of-place-in-architectural-studies [7] Montgomery, J. (1998). Making a city: Urbanity, vitality and urban design. Journal of Urban Design, 3, 93-116. [8] Lynch, K. (1960). The image of the city. Cambridge, Massachusetts: MIT Press. [9] Shamai, S. (1991). Sense of Place: An Empirical Measurement. Geofmm, 22, 347-358. [10] ดนัย นิลสกุล. (2560). ความผูกพันสถานที่และสำนึกในถิ่นที่ในย่านการค้าเก่าเมืองอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ความคิดเห็น