ผู้วิจัย

สมหมาย ปะติตังโข และคณะ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดธรรมชาติโดยวิธีกึ่งสังเคราะห์ศึกษาสมบัติทางเคมีเชิงฟิสิกส์และฤทธิ์ทางชีวภาพของเงินนาโนโดยใช้แคปไซซินไฮดราโซนเป็นตัวรีดิวซ์ต้านเพลี้ยแป้ง ต้านแบคทีเรียโรคพืชและต้านอนุมูลอิสระ DPPH ผลการศึกษาพบว่า สามารถสกัดสารแคปไซซินบริสุทธ์ได้เปอร์เซ็นต์ที่สูงแล้วนำไปควบแน่นกับไธโอเซมิคาบาไซด์ได้สารใหม่แคปไซซินไธโอเซมิคาบาโซนรีดิวซิงเอเจนต์ นำไปรีดิวซ์สารละลายของเงินได้อนุภาคนาโนเงินแคปไซซินไธโอเซมิคาบาโซน อนุภาคทั้งหมดที่ได้ในครั้งนี้ละลายได้ดีในตัวทำละลายอินทรีย์ และสามารถกำจัดเพลี้ยแป้งได้ภายใน 60 นาที โดยเฉพาะอนุภาคเงินนาโนแคปไซซินไธโอเซมิคาร์บาโซน ส่วนความสามารถในการต้านแบคทีเรีย Xanthomonas campestris pv. Citri (Hasse) Dye ที่เป็นสาเหตุโรคแคงเกอร์ในมะนาวเงินนาโนออกฤทธิ์ได้ดีที่สุด สำหรับความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระ DPPH สารแคปไซซิน ไธโอเซมิคาร์บาโซนออกฤทธิ์ได้สูงสุด คำสำคัญ: แคปไซซิน เพลี้ยแป้ง อนุภาคเงินนาโน อนุมูลอิสระ และไฮดราโซน

บรรณานุกรม

กรมวิชาการเกษตร. (2558). โรคและไรและแมลงศัตรูพืชอื่นๆของมันสำปะหลัง. สืบค้นวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2558 จาก http://at.doa.go.th/mealybug/disease.htm คมกฤช มานิตกุล และคณะ. (2553). ผลของสารสกัดสมุนไพรต่อความสามารถใน การไล่เพลี้ยอ่อนในระดับหองปฏิบัติการ. ราชบุรี : โรงเรียนรัฐราษฎร์อุปถัมภ์. จารุวรรณ ธนวิรุฬห์ และคณะ. (ม.ป.ป.). การเปรียบเทียบปริมาณแคปไซซินอยด์และค่าดัชนี ความเผ็ดในพริกตามระยะการสุกแก่ของผล. อุบลราชธานี : มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. จิระเดช แจ่มสว่าง. (2550). การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธีบนเส้นทางของการเกษตรยุคใหม่. กรุงเทพฯ : สมาคมนักโรคพืชแห่งประเทศไทย. จุฑารัตน์ เม้าคำ. (2555). การหาองค์ประกอบหลักและองค์ประกอบรองของแคปไซซินอยด์โดย เทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี-แมสสเปกโทรเมทรี และการยับยั้งเอนไซม์แอลฟา อะไมเลสด้วยสารสกัดจากพริก. กรุงเทพฯ : การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับ บัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 13. ณัฐกานต์ ธิคำ และคณะ. (2551). การแยกสารสกัดบางส่วนจากหนอนตายหยากและผลของสาร สกัดต่อหนอนกระทู้หอม. กรุงเทพฯ : การประชุมทางวิชาการขอมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46 : หน้า 253-261. นิจศิริ เรืองรังสี. (2542). เครื่องเทศ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปกิต กำบุญมา และคณะ. (2552). องค์ประกอบทางเคมีฤทธิ์ทางชีวภาพและการปรับเปลี่ยน โครงสร้างของสารแคปไซซินและไดรไฮโดรแคปไซซินจากพริก. ขอนแก่น : การประชุม เสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตแห่งชาติครั้งที่ 12. ประสาทพร บริสุทธิ์เพ็ชร และคณะ. (2551). การทดสอบฤทธิ์ต้านเชื้อสมุนไพรในห้องปฏิบัติการ. .ขอนแก่น : ประชุมวิชาการสัตวแพทยศาสตร์ มข. ครั้งที่ 9 มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ประเสริฐ ประภานภสินธุ์. (2544). เปรียบเทียบเทคนิคการสกัดสารแคปไซซินในพริกพันธุ์ต่างๆ. วิทยานิพนธ์ วท.ม. (พืชสวน). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ทัศนีย์ สายวิชัย และคณะ. (2554). การศึกษาความสามารถในการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ ฮิสโทนดีอะเซทิลเลสโดยแคปไซซินและสารอนุพันธ์ของแคปไซซิน (6-hydroxy-N- (4-hydroxyl-3methoxybenzyl)-8-methylnonanamide). เชียงใหม่ : Science Society of Thailand under the Patronage of His and Department of Biochemistry Faculty of Medicine Chiang Mai University. เยาวพา สุวัตถิ. (2553). การใช้เชื้อจุลินทรีย์ในการควบคุมโรคพืช. กรุงเทพฯ : วิจัยอุตสาหกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ. มงคล จันทร์แก้วปง. (2548). การวิเคราะห์ปริมาณแคปไซซินในพริก โดยเทคนิคโครมาโทกราฟี ของเหลวสมรรถนะสูง. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. วสกร บัลลังก์โพธิ์ และคณะ. (2545). “สารสกัดจากพริกขี้หนู (Capsicum frutescens L.) ใน การควบคุมด้วงข้าวโพด (Sitophilus zeamais Motsehulsky),” วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 33 (6) : 300-304. วัยวรรธน์ บุณยมานพ. (2536). การศึกษาปริมาณแคปไซซินและแคโรทีนอยด์ในผลของริกปลูก ในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ ภ.ม. (เภสัชเวท). กรุงเทพฯ : คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. วีระชัย วีระเมธากุล. (2553). “วท. รุกเพิ่มมูลค่าภาคอาหารเกษตร,” หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ. 15. ศูนย์วิจัยมันสำปะหลังและผลิตภัณฑ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. (2551). โรคและศัตรู ของมันสำปะหลัง. สืบค้นวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 จาก www.sut.sc.th/cassava ศูนย์สารสนเทศ กรมวิชาการเกษตร. (2558). จำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2558. จาก http://at.doa.go.th สนทยา โสสนุย. (2540). พริก Capsicums และประโยชน์ของสาร Capsaicin. ยะลา : โปรแกรมวิชาชีววิทยาประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา. สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2556). สรุปภาวะเศรษฐกิจรอบไตรมาสที่ 1 ของปี 2555. สืบค้น เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2553. จากแหล่งข้อมูล: www.nesac.go.th/office/upload/modDocume nt/file_13-tn-13- 12288266581768.pdf สมหมาย ปะติตังโข และกิ่งแก้ว ปะติตังโข. (2557). “การสังเคราะห์และการทดสอบฤทธิ์ ทางชีวภาพของสารนาโนอินทรีย์และนาโนโลหะอินทรีย์,” วารสารวิทยาศาสตร์ มข. 42 (3) : 612-623. สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช. (ม.ป.ป.). เพลี้ยแป้งมันสำปะหลังและการป้องกันกำจัด. กรุงเทพ ฯ : กรมวิชาการเกษตร. สุภาพร พงษ์มณี และกัญณาญาภัค สนามพล. (2550). “การสกัดสารจากพืชสมุนไพรเพื่อยับยั้ง แบคทีเรียก่อโรคในอาหาร,” วารสารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 38 (6) : 54-57. สุวรา วัฒนพิทยกุล และคณะ. (2550). ผลของสารสกัดพริกและ Capsaicin ต่อการยับยั้งการ ทำงานของเซลล์เยื่อบุหลอดเลือด. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). เสาวนีย์ คำพันธ์. (2553). องค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพของกิ่งตนไข่เน่า. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. โอภาษ บุญเส็ง. (2552). ปลูกมันสำปะหลังแบบมีการใช้น้ำช่วยเพิ่มผลผลิตและป้องกันเพลี้ยแป้ง. ระยอง : ศูนย์วัยพืชไร่ระยอง สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาการเกษตร. Duangpatra, P. (1988). Soil and Climatic Characterization of Major Cassava Growing Areas in Thaiand. CIAT cassava breeding and agronomy research in Asia. Proceedings of a workshop held in Thailand, Oct. 26-28, Bangkok, Thailand p. 157-184. Marla Sganzerla. et al. (2014). “Fast method for capsaicinoids analysis from Capsicum chinense fruits,” Food research international. 64 : 718-725. Sinsupha Chuicherm. et al. (2013). “Optimization of capsaicin purification from Capsicum frutescens Linn. With column chromatography using taguchi Design,” Industrial crops and products. 44 : 473-479 Xinrong Dong, et al . (2014). “Stage extraction of capsaicinoids and red pigments from frest red pepper (Capsicum) fruits with ethanol as solvent,” LWT –food science and technology. 59 : 396-402.

หน่วยงานการอ้างอิง

โครงการวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

ไฟล์แนบ

pdf รายงานฉบับสมบูรณ์เพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง 12 กค 2558

ขนาดไฟล์ 4 MB | จำนวนดาวน์โหลด 414 ครั้ง

ความคิดเห็น