ผู้วิจัย

บรรเจิด สอนสุภาพ สายรุ้ง สอนสุภาพ ดนัย รัชตะวราเศรษฐ์ นันท์นภัส ปาลินทร และรัตนา เพ็งเพราะ

บทคัดย่อ

การส ารวจทรัพยากรแหล่งน้ าเพื่อการเลี้ยงปลาและปลูกพืช ในพื้นที่ศูนย์บริการวิชาการปะ ค า มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจวัดคุณภาพน้ าและส ารวจชนิดปลาน้ าจืด ใน แหล่งน้ าภายในจ านวน 7 สถานีและรอบศูนย์บริการวิชาการปะค าจ านวน 4 สถานีด าเนินการ ตรวจวัดคุณภาพน้ าในภาคสนามและวิเคราะห์คุณภาพน้ าในห้องปฏิบัติการตามวิธีการมาตรฐาน เดือนละ 1 ครั้ง สถานีละ 3 ซ้ า ระยะเวลา 4 เดือน และเก็บตัวอย่างปลาจากการจับของชาวบ้าน มา วิเคราะห์ตามหลักอนุกรมวิธาน ผลการวิจัยพบว่าค่าเฉลี่ย อุณหภูมิของอากาศมีค่าระหว่าง 29-30 องศาเซลเซียส อุณหภูมิของน้ ามีค่าระหว่าง 23-27 องศา ความเค็มของน้ ามีค่าระหว่าง 0-0.20 พีพีที ความเป็นกรดด่าง (pH) มีค่าระหว่าง 7-8 ความน าไฟฟ้ามีค่าระหว่าง 13-358 ไมโครซีเมนต์ต่อวินาที ปริมาณออกซิเจนละลายน้ ามีค่าระหว่าง 1.85-5.37 มิลลิกรัมต่อลิตร ปริมาณสารแขวนลอยในน้ ามีค่า ระหว่าง 17.85-242.16 มิลลิกรัมต่อลิตร ความขุ่นมีค่าระหว่าง 29.75±2.63 - 388.25±7.04 NTU ปริมาณความเป็นด่างมีค่าระหว่าง 9.75±0.96- 92.25±1.71 มิลลิกรัมต่อลิตร ในรูปของแคลเซียม คาร์บอเนต ปริมาณฟอสฟอรัสที่ใช้ประโยชน์ได้ มีค่าระหว่าง 4.92±1.90 - 34.67±0.72 มิลลิกรัมต่อ ลิตร ปริมาณแอมโมเนียในน้ า มีค่าระหว่าง 0.29±0.11 - 0.86±0.07 มิลลิกรัมต่อลิตร จากการส ารวจ แหล่งน้ าพบปลาน้ าจืดจ านวน 5 ชนิด ได้แก่ ปลาดุกด้าน ปลาช่อน ปลาหมอไทย ปลาหมอช้างเหยียบ และปลาสร้อยขาว จากการวิจัยครั้งนี้สรุปได้ว่า คุณภาพน้ าภายในศูนย์บริการวิชาการปะค าเหมาะแก่ การเลี้ยงปลาดุก ปลาช่อน และปลาหมอไทย และสามารถใช้น้ าในการปลูกพืชบางชนิด ส่วนคุณภาพ น้ าภายนอกศูนย์อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ าเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า

บรรณานุกรม

ไมตรี ดวงสวัสดิ์. (2530). เกณฑ์คุณภาพน้ าเพื่อการคุ้มครองทรัพยากรสัตว์น้ าจืด. เอกสารวิชาการ สถาบันประมงน้ าจืดแห่งชาติ ฉบับที่ 75/2530. ไมตรี ดวงสวัสดิ์ และจารุวรรณ สมศิริ. (2528). คุณสมบัติของน้ าและวิธีวิเคราะห์ส าหรับการวิจัย ทางการประมง. ฝ่ายวิจัยสิ่งแวดล้อมสัตว์น ้า สถาบันประมงน ้าจืดแห่งชาติ กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 370 ยนต์ มุสิก. (2539). คุณภาพน้ ากับก าลังผลิตของบ่อเลี้ยงสัตว์น้ า. ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า คณะ ประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วิรัช จิ๋วแหยม. (2540). คุณภาพน้ าส าหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าและการวิเคราะห์. ภาควิชาประมง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. สันทนา ดวงสวัสดิ์. (2547). แนวทางการส ารวจวิจัยด้านนิเวศวิทยาประมงในแหล่งน้ าจืด. กรม ประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. ส านักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม. (2542). พื้นที่ชุ่มน้ าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม. องค์การบริหารส่วนต าบลหูท านบ. (2560). ข้อมูลทั่วไป สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์การ บริหารส่วนต าบล. สืบค้นเมื่อ 20มีนาคม 2560. จากhttp://www.govesite.com/ hutamnob/content.php?cid=20160125141628hbsZVJf)

ไฟล์แนบ

pdf การสำรวจทรัพยากรแหล่งน้ำ

ขนาดไฟล์ 830 KB | จำนวนดาวน์โหลด 282 ครั้ง

ความคิดเห็น