พลังงานทดแทนกับการพัฒนาภาคเกษตรกรรมในอดีตนั้นเรามีการใช้พลังงานทดแทนในภาคเกษตรกรรม เช่น แสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานน้ำ เป็นต้น ได้มีการใช้พลังงานทดแทนเหล่านี้ที่มีอยู่ตามธรรมชาติร่วมกับการใช้แรงงานคนและสัตว์ เพื่อผลิตสินค้าภาคเกษตรกรรม เช่น การปลูกข้าว ข้าวโพด มันสำปะหลัง แต่การผลิตดังกล่าวนั้นเป็นการผลิตเพื่อการยังชีพหรือเพียงพอต่อการดำรงเท่านั้น แต่ในปัจจุบันการผลิตสินค้าภาคเกษตรกรรมต้องตอบสนองต่อการบริโภคภายในประเทศและการส่งออกสินค้าไปยังต่างประเทศ ทำให้กระบวนการผลิตต้องมีการเปลี่ยนแปลง มีการนำเครื่องจักรมาใช้แทนแรงงานคนและสัตว์ เครื่องจักรดังกล่าวต้องมีการใช้น้ำมันเชื่อเพลิงในการขับเคลื่อนเครื่องจักร ส่งผลให้ลงทุนในการผลิตสินค้าเกษตรมีราคาเพิ่มสูงขึ้นและราคาน้ำมันดังกล่าวยิ่งมีระดับราคาที่ขยับสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ราคาสินค้าขึ้นตามไปด้วย ดังนั้นเพื่อการแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงต้องมีการนำพลังงานทดแทนมาใช้ในการผลิตสินค้าเกษตร พลังงานทดแทนดังกล่าว อาทิ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานน้ำ การนำพลังงานทดแทนเหล่านี้มาใช้ในการพัฒนาภาคเกษตร
วัตถุประสงค์โครงการ
1. เพื่อปรับปรุงและพัฒนาระบบการผลิตกระแสไฟฟ้าจากเซลล์สุริยะ ในชุมชนท้องถิ่น
2. สร้างต้นแบบชุมชนอนุรักษ์พลังงาน
3. เยาวชนนักปฏิบัติการพลังงานเซลล์สุริยะ สามารถสร้างความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้า สามารถแก้ไขอุปสรรคข้อขัดข้องต่าง ๆ อย่างถูกวิธี
4. ผู้ดำเนินงานโครงการ และ ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถแลกเปลี่ยนและเผยแพร่ความรู้ในทางวิชาการ ตลอดจนข่าวสารเกี่ยวกับการจัดการพลังงานในชุมชน เพื่อการเกษตรจากพลังงานเซลล์สุริยะ
Filter by Group type
Filter by Total Members number
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการยุวชนอาสา การสร้างเสริมศักยภาพเยาวชนนักปฏิบัติการพลังงานเซลล์สุริยะ ในชุมชนท้องถิ่น จังหวัดบุรีรัมย์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการยุวชนอาสา การสร้างเสริมศักยภาพเยาวชนนักปฏิบัติการพลังงานเซลล์สุริยะ ในชุมชนท้องถิ่น จังหวัดบุรีรัมย์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
พลังงานทดแทนกับการพัฒนาภาคเกษตรกรรมในอดีตนั้นเรามีการใช้พลังงานทดแทนในภาคเกษตรกรรม เช่น แสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานน้ำ เป็นต้น ได้มีการใช้พลังงานทดแทนเหล่านี้ที่มีอยู่ตามธรรมชาติร่วมกับการใช้แรงงานคนและสัตว์ เพื่อผลิตสินค้าภาคเกษตรกรรม เช่น การปลูกข้าว ข้าวโพด มันสำปะหลัง แต่การผลิตดังกล่าวนั้นเป็นการผลิตเพื่อการยังชีพหรือเพียงพอต่อการดำรงเท่านั้น แต่ในปัจจุบันการผลิตสินค้าภาคเกษตรกรรมต้องตอบสนองต่อการบริโภคภายในประเทศและการส่งออกสินค้าไปยังต่างประเทศ ทำให้กระบวนการผลิตต้องมีการเปลี่ยนแปลง มีการนำเครื่องจักรมาใช้แทนแรงงานคนและสัตว์ เครื่องจักรดังกล่าวต้องมีการใช้น้ำมันเชื่อเพลิงในการขับเคลื่อนเครื่องจักร ส่งผลให้ลงทุนในการผลิตสินค้าเกษตรมีราคาเพิ่มสูงขึ้นและราคาน้ำมันดังกล่าวยิ่งมีระดับราคาที่ขยับสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ราคาสินค้าขึ้นตามไปด้วย ดังนั้นเพื่อการแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงต้องมีการนำพลังงานทดแทนมาใช้ในการผลิตสินค้าเกษตร พลังงานทดแทนดังกล่าว อาทิ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานน้ำ การนำพลังงานทดแทนเหล่านี้มาใช้ในการพัฒนาภาคเกษตร
วัตถุประสงค์โครงการ
1. เพื่อปรับปรุงและพัฒนาระบบการผลิตกระแสไฟฟ้าจากเซลล์สุริยะ ในชุมชนท้องถิ่น
2. สร้างต้นแบบชุมชนอนุรักษ์พลังงาน
3. เยาวชนนักปฏิบัติการพลังงานเซลล์สุริยะ สามารถสร้างความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้า สามารถแก้ไขอุปสรรคข้อขัดข้องต่าง ๆ อย่างถูกวิธี
4. ผู้ดำเนินงานโครงการ และ ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถแลกเปลี่ยนและเผยแพร่ความรู้ในทางวิชาการ ตลอดจนข่าวสารเกี่ยวกับการจัดการพลังงานในชุมชน เพื่อการเกษตรจากพลังงานเซลล์สุริยะ
ไฟล์แนบ