ผู้วิจัย
วิภารัตน์ อิ่มรัมย์
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรายวิชาวรรณกรรมสำหรับเด็กปฐมวัยของนักศึกษาก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐานร่วมกับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐานร่วมกับภูมิปัญญาท้องถิ่นในรายวิชาวรรณกรรมสำหรับเด็กปฐมวัย ของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 หมู่ 1 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย จำนวน 32 คน ใช้เวลา 16 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูล คือ แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาวรรณกรรมสำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้โครงงานเป็นฐานร่วมกับภูมิปัญญาท้องถิ่น แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวรรณกรรมสำหรับเด็กปฐมวัย และแบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐานร่วมกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ดำเนินการทดลองตามรูปแบบการวิจัยแบบ One Group Pretest - Posttest Design วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และการทดสอบทางสถิติ t-test Dependent ผลการวิจัยพบว่า 1. นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวรรณกรรมสำหรับเด็กปฐมวัยของนักศึกษาที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐานร่วมกับภูมิปัญญาท้องถิ่นหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักศึกษามีคะแนนความพึงใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐานร่วมกับภูมิปัญญาท้องถิ่นในรายวิชาวรรณกรรมสำหรับเด็กปฐมวัย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.11 อยู่ในระดับมาก ABSTACT The purpose of this research was to compare the achievement in learning literature for preschool children of students before and after project based learning with local wisdom. And to study the satisfaction with project-based learning with local wisdom in preschool literature courses Of students in the Early Childhood Education Program, Faculty of Education, Buriram Rajabhat University. The target group used in the research were 32 first year students in Moo 1 in the Early Childhood Education Program, spending 16 hours. The tools used to collect data were the learning management plan for preschool literature by using the project as Base together with local knowledge Test of achievement in literature for preschool children And the student satisfaction evaluation form with project-based learning management together with local knowledge. The experiment was carried out according to the One Group Pretest - Posttest Design. The data were analyzed by means of Mean Deviation and t-test Dependent. The research found that 1. Students have achievement in literature courses for preschool children of students. That received project-based learning management together with local knowledge after learning higher than before learning With statistical significance at the level of .05 2. Students have satisfaction scores on project-based learning management together with Local knowledge in literature for preschool children With an average of 4.11 at a high level.
บรรณานุกรม
บรรณานุกรม กาญจนา ฉัตรศรีตระกูล. (2544). การเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนเค้าโครงของโครงงาน ภูมิปัญญาไทยการคิดแก้ปัญหาและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่สอนโดยใช้แบบฝึกการทำโครงงานภูมิปัญญาไทยทางวิทยาศาสตร์กับการสอนแบบสืบเสาะ. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต. กรุงเทพ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กาญจนา อรุณสุขรุจี. (2546). ความพึงพอใจของสมาชิกสหกรณ์ต่อการดำเนินงานของสหกรณ์ การเกษตรไชยปราการจำกัด อำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่ : คณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. กิติมา ปรีดีดิลก. (2539). ทฤษฎีบริหารองค์กร. กรุงเทพฯ : ธนะการพิมพ์. กิตติชัย สุธาสิโนบล. (2546). โครงงาน (Project Approach). ราชบุรี : ธรรมรักษ์การพิมพ์. แก้วกานดา แสงพลสิทธิ์. (2546). ความพึงพอใจต่อการประกันอัคคีภัยบริษัททิพยประกันภัยจำกัด (มหาชน) ของผู้ใช้บริการในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. ปริญญานิพนธ์ บธม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. จิตตินันท์ เตชะคุปต์. (2549). จิตวิทยาการบริการ. พิมพ์ครั้งที่ 12. นนทบุรี : มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช. ทัศนีย์ ทองไชย. (2542). สภาพและแนวทางการทำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนการ สอนวิชาสังคมศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. เทพกัญญา พรหมขัตแก้ว. (2557). “ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน”. วารสารสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 42(188), 14. ธีระศักดิ์ ปัญญา. (2555). ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจสังกัดกองกำกับ การตำรวจตระเวนชายแดนที่ 23. วิทยานิพนธ์ รป.ม. สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏ สกลนคร. นิคม ชมภูหลง. (2548). ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่การเรียนรู้. พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาสารคาม : กลุ่มนิเทศ ติดตามประเมินผลการจัดการศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคามเขต. นุรไอนี ดือรามะ. (2559). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานร่วมกับภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. น้ำทิพย์ วิมูลชาติ และมาเรียม นิลพันธุ์. (2559). การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน โดยใช้ข้อมูล ท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมความสามารถในการท าโครงงานคณิตศาสตร์ สำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วารสาร Veridian E-Journal ฉบับภาษาไทย สาขา มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ปีที่9 ฉบับที่2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2559: 787-800. บุษยา เลียบทวี และคณะ. (2554). “ความพึงพอใจของผู้สำเร็จการศึกษาต่อหลักสูตรประกาศนียบัตร ผู้ช่วยพยาบาล (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2553), วารสารพยาบาลตำรวจ. ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554. ปรียาวดี เอื้อศรี. (2553). ความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการรถโดยสารของบริษัท ขนส่งจำกัด สถานีเดินรถสกลนคร. วิทยานิพนธ์ รปม. สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏ สกลนคร. ผกาพรรณ วะนานาม (2560) การวิจัยและพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ บูรณาการกับท้องถิ่น โดยใช้โครงงานเป็นฐาน สาหรับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ครู สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. สกลนคร : คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์. พิมพันธ์ เดชะคุปต์, พเยาว์ ยิดีสุข และราเชน มีศรี. (2553). การสอนคิดด้วยโครงงาน : การเรียน การสอนแบบบูรณาการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ไพทูล คาคอนสาร (2559). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานเรื่อง ช่างปูนปั้น สาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกา แพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา. วารสาร Veridian E-Journal ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน – ธันวาคม 2559 : 674-690. ภณิดา ชัยปัญญา. (2541). ความพึงพอใจของเกษตรกรต่อกิจการไร่นาสวนผสมภายใต้โครงการปรับ โครงสร้างและระบบการผลิตการเกษตรของจังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. เชียงใหม่ : คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภัทรภร ผลิตากุล. (2560). “การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดโครงการเป็นฐานเพื่อประสบการณ์การสอน ดนตรีของนักศึกษาคณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร”. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2560. ภรภัทร ดาวศรี. (2555). ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจาก พระราชดำริจังหวัดสกลนคร. วิทยานิพนธ์ รปม. สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. เรณุมาศ มาอุ่น . (2559). “การจัดการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ” วารสารเทคโนโลยีภาคใต้. ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559. รอยพิมพ์ใจ เพชรกุล. (2552). “ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนและ การให้บริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช”, วิชชาวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. ปที่ 29 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2553. ลัดดา ภู่เกียรติ. (2552). การสอนแบบโครงงานและการสอนแบบใช้วิจัยเป็นฐาน : งานที่ครูประถม ทำได้. กรุงเทพฯ : สาฮะแอนด์ซันพริ้นติ้ง จำกัด. วุฒิชัย ข่าขันมะลิ. (2548). ความพึงพอใจของลูกค้าต่อการให้บริการด้านเงินฝากของธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด. ภาคนิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม). กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. วริศรา ไกรจิตเมตต์. (2545). ผลการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการเรียนการสอนวิชา วิทยาศาสตร์ เรื่องผลผลิตทางการเกษตรและการจัดการ. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วิยดา อุ่นอ่อน. (2546). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ โดยเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ร่วมกับแหล่ง วิทยาการชุมชน. เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วิรุฬ พรรณเทวี. (2542). ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของหน่วยงาน กระทรวงมหาดไทยในอำเภอเมืองจังหวัดแม่ฮ่องสอน. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาการบริหารการศึกษา). เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนือ กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). รายงานผลการ ดำเนินงานโครงการการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน. สำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา. สาลินี จงใจสุรธรรม. (2553). ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อกระบวนการจัดการเรียน การสอนระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. นครศรีธรรมราช : คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. สุจิตรา กุดสระน้อย. (2557). ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการดำเนินงานและการให้บริการ ขององค์การบริหารส่วนตำบลอุดมทรัพย์ อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา. ภาคนิพนธ์ ค.ม. สาขาวิชาบริหารธุรกิจ. นครราชสีมา : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. สุภาวดี บุญสิทธิ์. (2557). ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนต่อการบริหารงานวิชาการของ โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง1 สังกัดเทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา. สุคนธ์ สินธพานนท์. (2545). การจัดกระบวนการเรียนรู้ : เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์. สามารถ จันทร์สูรย์. (2536). ภูมิปัญญาชาวบ้านกับการพัฒนาชนบทเล่ม 1. มูลนิธิภูมิปัญญาและ มูลนิธิหมู่บ้าน. กรุงเทพฯ : อัมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊ฟ. อธิวัฒน์ ปิยะนันท์. (2553). ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการจัดเก็บของกองคลัง เทศบาลตำบลในเขตจังหวัดสกลนคร. วิทยานิพนธ์ รป.ม. สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏ สกลนคร. อารีย์ หะยีสาและ. (2550). ความพึงพอใจของผู้สูงอายุต่อการได้รับบริการด้านสวัสดิการสังคม กรณีศึกษาศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุบ้านทักษิณจังหวัดยะลา. ภาคนิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม). กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. Good, C.V. 1973. Dictionary of Education. New York : McGraw-hill Book.
หน่วยงานการอ้างอิง
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
ความคิดเห็น