ผู้วิจัย

อมรเทพ วันดี1, วรีรัตน์ ก่อกิตติพงศ์2 และ วิศรุต ศรีแก้ว3*

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลการยืดเหยียดกล้ามเนื้อแบบกระตุ้นระบบประสาทกล้ามเนื้อ การยืดเหยียดแบบเคลื่อนไหว และการยืดเหยียดแบบยืดค้าง ที่มีต่อความเร็วในการออกตัวของนักวิ่งระยะสั้นชาย มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์โดยการทดสอบในกลุ่มตัวอย่าง จานวน 6 คน ประกอบด้วย การทดสอบความเร็วการออกตัวจากบล๊อคสตาร์ท 50 เมตรแรก และ 50 เมตรสุดท้าย และความเร็วในการวิ่งระยะ 100 เมตร ซึ่งจะทาการทดสอบความเร็วหลังจากการยืดเหยียดทั้ง 4 ชนิด ประกอบด้วย การยืดเหยียดกล้ามเนื้อแบบกระตุ้นระบบประสาทกล้ามเนื้อ ในเทคนิค การหดตัว คลายตัว จะปฏิบัติท่าละ 60 วินาที ต่อ 1 ท่า การยืดเหยียดแบบเคลื่อนไหว การยืดเหยียดด้วยตัวเอง และการยืดเหยียดโดยผู้อื่นกระทาให้ จะปฏิบัติข้างละ 30 วินาที ต่อ 1 ท่า โดยทุกการยืดเหยียดจะต้องปฏิบัติจานวน 3 รอบ พักระหว่างรอบ 20 วินาที ซึ่งจะฝึก 1 วัน พัก 2 วัน สลับกันจบครบทั้ง 4 ชนิดของการยืดเหยียด ผลการวิจัยพบว่า การทดสอบความเร็วการออกตัวจากบล๊อคสตาร์ท 50 เมตรแรก จากยืดเหยียดทั้ง 4 ชนิด ไม่มีความแตกต่างกัน และการทดสอบความเร็วจากการออกตัวจากบล๊อคสตาร์ท 50 เมตรสุดท้าย และความเร็วในการวิ่งระยะ 100 เมตร การยืดเหยียดแบบเคลื่อนไหว ใช้ระยะเวลาในการวิ่งน้อยที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับการยืดเหยียดทั้ง 3 ชนิด อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สรุปได้ว่าการยืดเหยียดแบบเคลื่อนไหว สามารถเพิ่มประสิทธิภาพ หรือเพิ่มความเร็วให้กับนักกรีฑาระยะสั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ คำสำคัญ: การยืดเหยียดกล้ามเนื้อแบบกระตุ้นระบบประสาทกล้ามเนื้อ การยืดเหยียดแบบเคลื่อนไหว การยืดเหยียดแบบยืดค้าง

บรรณานุกรม

สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย. 2558. ประวัติและกติกากรีฑาในทระเทศไทยhttp://www.aat.or.th/home/index.php?option=com_content&view=category&layout=blog&id=8&Itemid=152. เข้าถึงเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2558 Bacurau R.F., Monteiro G.A., Ugrinowitsh C., Tricoli V., Cabral L.F. and Aoki M.S. (2009). Acute effect of a ballistic and a static stretching exercise bout on flexibility and maximal strength. J Strength Cond Res. 23: 304 308 Behm D.G. and Chaouachi A. (2011). A review of the acute effects of static and dynamic stretching on performance. Eur J Appl Physiol. 111:2633 2651. Bordiss S. (2007). Running Technique. Training for Distance Running. P2P Publishing Ltd 2007: PLP Commercial Printers Impressions House, 3 7 Mowlem Street, London E2 9HE: (51) Fletcher I. and Anness R. (2007). The acute effects of combined static and dynamic stretch protocols on fifty meter sprint performance in track and field athletes. Journal of strength and conditioning research. 21(3):784 Fowles J.R., Sale D.G. and MacDougall J.D. (2000). Reduced strength after passive stretch of the human plantar flexors. J Appl Physiol. 89: 1179 1188. Hough P.A., Ross E.Z., Howatson G. (2009). Effect of dynamic and static stretching on vertical jump performance and electromyographic activity. J Strength Cond Res. 23: 507 512. International Association of Athletic Federation: IAAF. 2013. Competition Rules 2014 2015. In Force as from 1ST November 2013; 17, rue Princesse Florestine. Jagger J.R., Swan A.M., Frost K.L. and Lee C.D. (2008). The acute effect of dynamic and ballistic stretching on vertical jump height, force, and power. J Strength Cond Res. 22: 1844 – 1849 การประชุมวิชาการระดับชาติ “นวัตกรรมและเทคโนโลยีวิชาการ 2017” “วิจัยจากองค์ความรู้สกู่ ารพัฒนาอย่างยัง่ ยืน” Manoel E M., Harris--Love O M., Danoff V J. and Millee A T. (2008). Acute effects of static, dynamic, and proprioceptive neuromuscular facilitation stretching on muscle power in women. Journal of strength and conditioning research. 22(5):1528--1534 Marek S.M., Cramer J.T., Fincher A.L.,Massey L.L., Dangelmaier S. M., Purkayastha S., Fitz K. A., Julie C. Y. (2005). Acute Efect of Static and Proprioceptive Neuromuscular Facilitation Strength on Muscle Strength and Power Output. Journal of Athletic Training. 40 (2): 94 –– 103. Mualder P., Bradshaw E. and Keogh J. (2006). Jump Kinetic Determinants of Sprint Acceleration Performance from Starting Blocks in Male Sprinters. Journal of Sports Science & Medicine. 5(2): 359 –– 366. Torres E.M., Kraemer W.J., Vingren J.L., Volek J.S., Hatfield D.L., Spiering B.A., HO J.Y., Fragala M.S., Thomas G.A., Anderson J.M., Hakkinen K. and Maresh C.M. (2008). Effect of stretching on upper body muscular performance. J Strength Cond Res. 22: 1279 – 1285. Van Gelder, Leonard H; Bartz, Shari D (2011) The Effect of Acute Stretching on Agility Performance. Journal of Strength & Conditioning Research: November 2011 -- Volume 25 -- Issue 11 -- pp 3014--3021 Yamaguchi T. and Ishii K. (2005). Effect of static stretching for 30 seconds and dynamic stretching on leg extension power. J Strength Condit Res. 19:677--683.

ความคิดเห็น