ผู้วิจัย

ณัฐพงศ์ เงางาม1* สกรณ์ บุษบง2

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ การพัฒนาระบบทำความเย็นพร้อมแอปพลิเคชันสำหรับการปลูกพืชไม้น้ำ มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเย็นให้กับน้ำที่ใช้ในการปลูกพืชไม้น้ำ โดยใช้แผ่นเพลเทียร์ ในการทำความเย็นน้ำและระบายความร้อนของแผ่นเพลเทียร์ด้วยฮีทซิงค์ชุดอุปกรณ์จะถูกควบคุมโดยโมดูลESP8266 ที่ใช้งานร่วมกับ เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิน้ำ (Water Temperature Sensor) เพื่อรายงานค่าอุณหภูมิน้ำ โดยส่งค่าอุณหภูมิแบบเรียลไทม์ไปยังแพลตฟอร์มเน็ตไพ ผ่านโปรโตคอล MQTT ซึ่งผู้ใช้สามารถรับรู้และควบคุมอุณหภูมิได้ทันที ระบบทำความเย็นใช้ ระบบฐานข้อมูล Firebase สำหรับเก็บข้อมูลอุณหภูมิและเวลาปัจจุบันเพื่อให้ผู้ใช้ดูค่าอุณหภูมิย้อนหลังผ่านแอปพลิเคชันได้อย่างสะดวกสบาย เพียงแค่สแกน QR code ที่ติดอยู่กับเครื่องทำความเย็น แอปพลิเคชันพัฒนาโดยใช้เฟรมเวิร์ค Flutter ซึ่งสามารถใช้งานได้ทั้งระบบปฏิบัติการ iOS และ Android

บรรณานุกรม

ชุติชัย หอมมาลี, สงกรานต์ วิริยะศาสตร์ , ไพศาล นาผล (2562). การศึกษาถึงพฤติกรรมการไหลและการ ถ่ายเทความร้อน ในฮีทซิงค์สำหรับชุดโมดูลการทำความเย็นด้วยเทอร์โมอิเล็กตริกด้วยระเบียบวิธีพลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณ. ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ เทิดพันธุ์ ชูกร, ภิญโญ ชุมมณี (2561). เครื่องควบคุมอุณหภูมิน้ำสำหรับตู้เพาะเลี้ยงพรรณไม้น้ำ. คณะเทคโนโลยีการเกษตร และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. ธนพล แก้วคำแจ้ง, กัมปนาท บุญคง (2561). การศึกษาประสิทธิภาพการใช้ถังทำความเย็นจากแผ่นทำความเย็น. แผนกวิชา อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคหนองบัวลำภู สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 ธนวิชญ์ กมลฉ่ำ, หทัยรัตน์ พินิจสุวรรณ (2559). อินเตอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่งของการควบคุม อุปกรณ์ไฟฟ้าและบันทึกข้อมูล การใช้พลังงาน. สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ นายสุนทร วงศ์เสน (2561). การศึกษาความสามารถในการทำความเย็นของแผ่นเพลเทียร์

บทคัดย่อ
การพัฒนาระบบทำความเย็นพร้อมแอปพลิเคชันสำหรับการปลูกพืชไม้น้ำ มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเย็นให้กับน้ำที่ใช้ในการปลูกพืชไม้น้ำ โดยใช้แผ่นเพลเทียร์ ในการทำความเย็นน้ำและระบายความร้อนของแผ่นเพลเทียร์ด้วยฮีทซิงค์ชุดอุปกรณ์จะถูกควบคุมโดยโมดูลESP8266 ที่ใช้งานร่วมกับ เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิน้ำ (Water Temperature Sensor) เพื่อรายงานค่าอุณหภูมิน้ำ โดยส่งค่าอุณหภูมิแบบเรียลไทม์ไปยังแพลตฟอร์มเน็ตไพ ผ่านโปรโตคอล MQTT ซึ่งผู้ใช้สามารถรับรู้และควบคุมอุณหภูมิได้ทันที ระบบทำความเย็นใช้ ระบบฐานข้อมูล Firebase สำหรับเก็บข้อมูลอุณหภูมิและเวลาปัจจุบันเพื่อให้ผู้ใช้ดูค่าอุณหภูมิย้อนหลังผ่านแอปพลิเคชันได้อย่างสะดวกสบาย เพียงแค่สแกน QR code ที่ติดอยู่กับเครื่องทำความเย็น แอปพลิเคชันพัฒนาโดยใช้เฟรมเวิร์ค Flutter ซึ่งสามารถใช้งานได้ทั้งระบบปฏิบัติการ iOS และ Android

ไฟล์แนบ

pdf 2722-ณัฐพงศ์ เงางาม และ สกรณ์ บุษบง

ขนาดไฟล์ 307 KB | จำนวนดาวน์โหลด 654 ครั้ง

ความคิดเห็น