ผู้วิจัย

อาจารย์อุกฤษฎ์ นาจำปา

หน่วยงานการอ้างอิง

มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

ผลผลิต (Output)

  1. ส่งเสริมผู้เข้าร่วมโครงการ และผู้ประกอบธุรกิจที่เกี่ยวกับระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าจากเซลล์สุริยะ สามารถแลกเปลี่ยนและเผยแพร่ความรู้ในทางวิชาการ ตลอดจนข่าวสารเกี่ยวกับความปลอดภัยทางไฟฟ้า
  2. ส่งเสริมการจัดการระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าจากเซลล์สุริยะ ตามมาตรฐาน
  3. ได้สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างมหาวิทยาลัยกับชุมชน
  4. ได้ประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยให้เป็นที่ยอมรับของสังคม

ผลลัพธ์ (Outcome)

  1. เกษตรกร สามารถบริหารจัดการพลังงานใน ระดับครัวเรือน ฟาร์มและโรงงาน ด้านการเกษตรจากพลังงานเซลล์สุริยะได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถแก้ไขอุปสรรคข้อขัดข้องต่าง ๆ รวมทั้งสามารถอธิบายหลักการทำงานระบบพลังงานเซลล์สุริยะให้กับบุคคลอื่นได้อย่างถูกต้องเหมาสม
  3. สามารถแลกเปลี่ยนและเผยแพร่ความรู้ในทางวิชาการ ตลอดจนเทคโนโลยีเซลล์สุริยะ
  4. สามารถจัดการพลังงาน ด้านการเกษตรจากพลังงานเซลล์สุริยะ ให้มีความปลอดภัยตามมาตรฐานการไฟฟ้า และมีประสิทธิภาพสูงสุด
  5. ลดการแพรกระจายของกาซมีเทนจากระบบผลิตกระแสไฟฟ้าแบบเดิม

          ผลกระทบ (Impact)

  1. ส่งเสริมการประกอบธุรกิจที่เกี่ยวกับระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าจากเซลล์สุริยะ
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถแก้ไขอุปสรรคข้อขัดข้องของระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าจากเซลล์สุริยะ
  3. มีงานวิจัยเกี่ยวกับระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าจากเซลล์สุริยะ รวบรวม แลกเปลี่ยนและเผยแพร่ความรู้ในทางวิชาการ
  4. ส่งเสริมคุณภาพของผลิตภัณฑ์และบริการด้านก๊าซชีวภาพ โดยผู้ประกอบการที่เป็นสมาชิกให้เข้ามาตรฐาน
  5. สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างมหาวิทยาลัยกับชุมชน และประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยให้เป็นที่ยอมรับของสังคม

ไฟล์แนบ

pdf Solar cells ภาพกิจกรรม

ขนาดไฟล์ 8 MB | จำนวนดาวน์โหลด 143 ครั้ง

ความคิดเห็น