ผู้วิจัย

รพีพรรณ พงษ์อินทร์วงศ์1*, กิติกร ฮวดศรี2, ชนินาถ ทิพย์อักษร3 , จตุพร จันทารัมย์4 Rapheephan Phonginwong1, Kitikorn Huadsir 2, Chaninart Thipaksorn3, Jatuporn Juntaram4 กิติกวินท์ เอี่ยมวิริยาวัฒน์5,รังสิมา สว่างทัพ6, ทศพร แก้วขวัญไกร7

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขของแรงงานผู้สูงอายุ ปัจจัยด้านการเป็นบุคคลที่มีคุณค่าในสังคม ปัจจัยด้านสุขภาพอนามัย และปัจจัยด้านเศรษฐกิจที่ส่งผลต่อการมีความสุขของแรงงานผู้สูงอายุ กรณีศึกษาชุมชนบ้านยาง ตำบลบ้านยาง อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ กลุ่มตัวอย่างคือแรงงานผู้สูงอายุ 316 คน การศึกษาใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือในการทำวิจัยใช้แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติอนุมาน การวิเคราะห์การถดถอย ผลการศึกษาพบว่า การเป็นบุคคลที่มีคุณค่าในสังคม ปัจจัยด้านสุขภาพอนามัย และปัจจัยด้านเศรษฐกิจส่งผลต่อการมีความสุขของแรงงานผู้สูงอายุ การวิจัยนี้ทำให้เกิดองค์ความรู้เกี่ยวกับผู้สูงอายุควรนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางการดำเนินชีวิต การดูแลสุขภาพให้แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ แรงงานผู้สูงอายุอยู่ในวัยผู้สูงอายุแต่ยังประกอบอาชีพเพื่อหารายได้ทำให้เกิดการพึ่งพาตนเองได้ถึงแม้สภาพแวดล้อมทางสังคมจะเปลี่ยนไปจากอดีตก็ตาม

บรรณานุกรม

กิติวงค์ สาสวด. (2560).ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในจังหวัดภาคตะวันออก. วารสารชุมชนวิจัย. (ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2560). 21- 38. กองสถิติพยากรณ์. (2555). การทํางานของผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ.2554. กรุงเทพฯ. สํานักงานสถิติแห่งชาติ จิตนภา ฉิมจินดา. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสุขในชีวิตของผ้สูงอายุในชุมชน จังหวดนครปฐม. วิทยานิพนธ์หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยคริสเตียน โชติกา สิงหาเทพ. (2559). การพัฒนาทุนมนุษย์เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต.การประชุมวิชาการ ระดับชาติราชภัฏเพชรบุรีวิจัยเพื่อแผ่นดินไทยที่ยั่งยืน ครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี วิทมา ธรรมเจริญ. (2555). อิทธิพลปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในที่มีต่อความสุขของผู้สูงอายุ. วิทยานิพนธ์ หลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สถิติประยุกต์). คณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนา บริหารศาสตร. วิรดา อรรถเมธากุลและวรรณี ศรีวิลัย. (2556). ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ ตำบลคูบัว จังหวัด ราชบุรี. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ. (ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 : กรกฎาคม - ธันวาคม ปี 2556) : 18-27. ศิรินันท์ กิตติสุขสถิต, กาญจนา ตั้งชลทิพย์, สุภรต์ จรัสสิทธิ์, เฉลิมพล สายประเสริฐ, พอตา บุนยตีรณะ, และวรรณภา อารีย์. (2555). คู่มือการวัดความสุขด้วยตนเอง HAPPINOMETER. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ธรรมดาเพรส. ศูนย์สถานศึกษาพอเพียง มูลนิธิยุวสถิรคุณ. (2560). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. สืบค้น 19 สิงหาคม 2562, จาก http://www.sufficiencyeconomy.org/sufficiency-meaning สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ สิบเอ็ด พ.ศ. 2560- 2564. กรุงเทพฯ. สำนักนายกรัฐมนตรี. สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. ผู้สูงอายุในประเทศไทย. สืบค้น 13 มีนาคม 2562, จาก http://hp.anamai.moph.go.th/soongwai/statics/about/soongwai/topic004.php. องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านยาง.(2562). ข้อมูลพื้นฐาน. สืบค้น 20 สิงหาคม 2562. จาก http://www.banyangburiram.go.th/index.php?op=staticcontent&id=10509. Hair, J.,Black, W. Babin, B. & Anderson, R. (2014).Multivariate Data Analysis. 6th ed. New Jersey : Pearson Prentice Hall International, Inc. Nunnally, J. C. & Bernstein,I. H. (1994). Psychometric Theory. New York. McGraw-Hill. Yamane, T. (1973). Statistics: An introductory analysis (3rd). New York. Harper and Row Publications. Translated Thai References Bureau of Health Promotion ,Department of Health, Ministry of Public Health. Elderly in Thailand. Retrieved 13 March2019. http://hp.anamai.moph.go.th/ soongwai/statics/about/ soongwai/ topic004.php Ban Yang Sub-district Administration Organization. (2019). Data Base. Retrieved 20 August 2019. http://www.banyangburiram.go.th/index.php?op=staticcontent&id=10509Kitiwong Chotika Singhatep. (2016). Human capital development to support future changes. The 3rd National and International Conference on Global Mobility through Ethnicity Culture and Research. Research Institute and Art and Culture Promotion, Phetchaburi Rajabhat University 151. Hair, J.,Black, W. Babin, B. & Anderson, R. (2014).Multivariate Data Analysis. 6th ed. New Jersey : Pearson Prentice Hall International, Inc. Jitnapa Chimjinda. ( 2012 ). The Factors Influencing Life Happiness Amongst the Elderly at a Community in Nakhon Pathom Province. Community Nurse Practitoner. Graduate School. Christian Universitry Kitiwong SaSuad. NRRU. (2017). Factors affecting the quality of the elderly in the eastern province. Community Research Journal. Vol. 11 No. 2 (May-August 2017) : 21-38. Nunnally, J. C. & Bernstein,I. H. (1994). Psychometric Theory. New York. McGraw-Hill. Office of the National Economic and Social Development Board (NESDB). (2016). National Economic and Social Development Plan No. 11(2017-2021). Bangkok, Office of the Prime Minister Statistical Forcecasting Division. (2554). Elderly work in Thailand 2011. Bangkok. National Statistical Office. Sufficiency Education Center, Yuwasathirakun Foundation. (2017). Sufficiency economy.Retrieved 21 August 2019 http://www.sufficiencyeconomy.org/sufficiency-meaning Wirada Atthamaethaku & Wannee Srivilai. (2013).The Infuences of Aging Health in Tumbon Koobua, Ratchaburi. Journal of Health Science Research. Vol 7 No 2: July-December 2013). Wittama Thumcharoen. (2012). The Influence of External and Internal factors on Happiness of the Elderly. Applied Statistic.National Institute of Development Administration. Yamane, T. (1973). Statistics: An introductory analysis (3rd). New York. Harper and Row Publications.

หน่วยงานการอ้างอิง

กองบรรณาธิการวารสารมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

 

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขของแรงงานผู้สูงอายุ ปัจจัยด้านการเป็นบุคคลที่มีคุณค่าในสังคม ปัจจัยด้านสุขภาพอนามัย และปัจจัยด้านเศรษฐกิจที่ส่งผลต่อการมีความสุขของแรงงานผู้สูงอายุ กรณีศึกษาชุมชนบ้านยาง ตำบลบ้านยาง อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์  กลุ่มตัวอย่างคือแรงงานผู้สูงอายุ 316 คน  การศึกษาใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือในการทำวิจัยใช้แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติอนุมาน การวิเคราะห์การถดถอย ผลการศึกษาพบว่า การเป็นบุคคลที่มีคุณค่าในสังคม ปัจจัยด้านสุขภาพอนามัย และปัจจัยด้านเศรษฐกิจส่งผลต่อการมีความสุขของแรงงานผู้สูงอายุ การวิจัยนี้ทำให้เกิดองค์ความรู้เกี่ยวกับผู้สูงอายุควรนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางการดำเนินชีวิต การดูแลสุขภาพให้แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ แรงงานผู้สูงอายุอยู่ในวัยผู้สูงอายุแต่ยังประกอบอาชีพเพื่อหารายได้ทำให้เกิดการพึ่งพาตนเองได้ถึงแม้สภาพแวดล้อมทางสังคมจะเปลี่ยนไปจากอดีตก็ตาม

ความคิดเห็น