ผู้วิจัย

รัตนาภรณ์ สมฤทธิ์ พีระพล ไกรษร จุฬารัตน์ อินทร์ศร ทักษพร มาอาสา

บทคัดย่อ

งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียม ZnO เจือ ด้วย TiO2 ในสัดส่วน 0, 1, 3 และ 5 %w/w ด้วยวิธีการบดย่อยและเผาแคลไซน์ที่อุณหภูมิ 600°C เป็นเวลา 6 ชั่วโมง เมื่อนำไปวิเคราะห์ด้วย SEM พบว่าขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาค TiO2 -doped ZnO อยู่ในช่วง 1-1.41 µm จากการวิเคราะห์ด้วย XRD พบเฟสหลักของ ZnO โครงสร้างแบบเฮกซะโกนอล และเฟสรองของ TiO2 โครงสร้างแบบเตตระโกนอล จากการทดสอบประสิทธิภาพการกำจัดเมทิลีนบลูพบว่าเมื่อใช้ TiO2 (0 %w/w) -doped ZnO จะมีเปอร์เซ็นต์การกำจัดเมทิลีนบลูเท่ากับ 68.662 ที่เวลา 6 ชั่วโมงและเปอร์เซ็นต์การสลายตัวของเมทิลีนบลูมีเท่ากับ 84.8

บรรณานุกรม

จีรวรรณ พิจารย์ และคณะ. (2558 มกราคม-มิถุนายน) “Decolorization of Mixed Dyes (Methylene Blue and Methyl Orange) in Aqueous Solution by Photo-Fenton Process,” วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา. ปีที่ 20 (ฉบับที่1) : 174-185. ชวิศร์ กรัณย์เมธากุล. (2549) การปรับแต่งผิวหน้าของไททาเนียมไดออกไซด์เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการเร่ง ปฏิกิริยาด้วยแสง. วิทยานิพนธ์ วท.ม. (สาขาวิชาเคมีอุตสาหกรรม). กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ. ดุจฤทัย พงษ์เก่าคะชิมา. (2560) การใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงไทเทเนียมไดออกไซด์เพื่อบำบัดน้ำเสีย. ภาควิชาวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นัดดา เวชชากุล. (2555 กุมภาพันธ์-มีนาคม) “การกำจัดสารอินทรีย์ในน้ำด้วยตัวเร่งปฏิกิริยานาโนไทเทเนียมไดออกไซด์,” Technology. 2012(38) : 53-55. นวพันธ์ ขยันกิจ. (2557) อนุภาคนาโนไททาเนียมไดออกไซด์และการประยุกต์ใช้งาน. วิทยาลัยนาโนเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. พฤกษา ฤทธิรงค์ และตุลวิทย์ สถาปนจารุ. (2558 กันยายน) “Decolorization of Reactive Black 5 (RB5) by Metal Nickel Ion Doped on Metal Nanoparticles ,” การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา “การวิจัยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. 1351-1359. ศุภมาส ด่านวิทยากุล. (2556 กรกฎาคม-กันยายน) “ซิงค์ออกไซด์กับการบำบัดน้ำเสียปนเปื้อนสีย้อมผ้า,” ศูนย์เทคโนโลยี และวัสดุแห่งชาติ. 39-50. อติพล สว่างอารมณ์. (2557) การศึกษาประสิทธิภาพของท่อนาโนไททาเนียมไดออกไซด์ที่เคลือบอนุภาคทองคาต่อการ เสื่อมสภาพของเมธิลีนบลูโดยกระบวนการโฟโตแคตะไลติก. วิทยานิพนธ์ วท.ม. (สาขาวิชาสาขาวิชาวัสดุศาสตร์). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อภิชน วัชเรนทร์วงศ์ และ อานันท์ปภา ชื่นทรัพย์. (2555) การใช้ทังสเตนไตรออกไซด์ในการบำบัดคาร์บอนมอนอกไซด์ ด้วยปฏิกิริยาโฟโตคะตะไลซิส. สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์. นครราชสีมา : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. Barka-Bouaifel, F., et al., Synthesis and photocatalytic activity of iodine-doped ZnO nanoflowers. Journal of Materials Chemistry, 2011. 21(29): p. 10982-10989.

หน่วยงานการอ้างอิง

มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด

บทความนี้มีรหัสผ่านป้องกันอยู่ การจะดูบทความโปรดใส่รหัสผ่านของคุณด้านล่าง