ผู้วิจัย

กิ่งแก้ว ปะติตังโข และคณะ

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่อง “การจัดการความรู้ข้าวพื้นเมืองเพื่อพัฒนาเป็นหลักสูตรท้องถิ่นของสถานศึกษา ในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์” มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) จัดการความรู้เกี่ยวกับการผลิตพันธุ์ข้าวพื้นเมืองในจังหวัดบุรีรัมย์ (2) พัฒนาหลักสูตรข้าวพื้นเมืองในสถานศึกษาของจังหวัดบุรีรัมย์ การเก็บรวบรวมข้อมูลในครั้งนี้ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกเป็นรายบุคคล การประชุมกลุ่ม และลงสำรวจพื้นที่จริง (Field Survey) ในแปลงนาของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวพื้นเมือง บ้านลิ่มทอง ตำบลหนองโบสถ์ อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ ผลการวิจัยได้ทราบข้อมูลการปลูกข้าวพื้นเมืองของบ้านลิ่มทองที่ยังคงปลูกอยู่ ได้แก่ ข้าวจิ๊บ ข้าวมะลิแดง ไรซ์เบอร์รี่ หอมนิล และเหลืองปลาซิว ซึ่งข้าวแต่ละชนิดมีลักษณะสัณฐานวิทยาที่แตกต่างกัน และได้ความรู้การปลูกข้าวที่มีการเตรียมเมล็ดที่สมบูรณ์ การเตรียมดิน การกำจัดวัชพืช การบำรุงต้นข้าว และการบริหารจัดการน้ำเข้าแปลงนา เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ปฏิบัติต่อกันมา จึงนำมาพัฒนาเป็นหลักสูตรท้องถิ่นเรื่อง การปลูกข้าวพื้นเมือง มี 8 หน่วยการเรียนรู้ คือ หน่วยที่ 1 ความสำคัญของข้าว หน่วยที่ 2 รู้จักต้นข้าว หน่วยที่ 3 การจำแนกประเภทและชนิดข้าวพื้นเมือง หน่วยที่ 4 วิธีทำนา หน่วยที่ 5 การจัดการเพื่อป้องกันศัตรูและวัชพืชในนาข้าว หน่วยที่ 6 การปลูกข้าวพื้นเมืองให้ได้ผลผลิตสูง หน่วยที่ 7 การแปรรูปข้าวพื้นเมือง และหน่วยที่ 8 พิธีกรรมเกี่ยวกับข้าว คำสำคัญ : การจัดการความรู้ ข้าวพื้นเมือง หลักสูตรท้องถิ่น

บรรณานุกรม

กิตติพจน์ งามฉวี และคณะ. (2548). การสำรวจความหลากหลายและการอนุรักษ์พันธุ์ข้าว พื้นเมืองในอำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. พระนครศรีอยุธยา : มหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. กีรติ ยศยิ่งยง. (2550). การจัดการความรู้ในองค์การและกรณีศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มิสเตอร์ก๊อปปี้. โกศล ดีศีลธรรม. (2546). การจัดการความรู้แห่งโลกธุรกิจใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 1. ปทุมธานี : ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. เจษฎา นกน้อย และคณะ. (2552). นานาทรรศนะการจัดการความรู้และการสร้างองค์การแห่งการ เรียนรู้. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. (2548). “การจัดการความรู้ (Knowledge Management)” วารสารพัฒนาบริหารศาสตร์. 45(2) : 1-24. เทพนารินทร์ ประพันธ์พัฒน์. (2554). การพัฒนาหลักสูตรฝึกประสบการณ์งานอุตสาหกรรมของ นักศึกษาสาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. ดุษฎีนิพนธ์ ปร.ด. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. ธัญยพร คำก้อน. (2548). การจัดการความรู้เรื่องของเกษตรกรในการปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในทุ่งกุลาร้องให้ จังหวัดร้อยเอ็ด. เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ธีระ รุญเจริญ. (2548). สู่ความเป็นผู้บริหารมืออาชีพ. กรุงเทพฯ : ข้าวฟ่าง. ธีรพงษ์ มหาวีโร. (2555). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555- 2559). กรุงเทพฯ : เจริญรัฐการพิมพ์. นิคม ชมพูหลง. (2545). แนวทางการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการพัฒนาหลักสูตรและการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มการงานและพื้นฐานอาชีพ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 เรื่องการสาน มวย (ฉบับปรับปรุง). มหาสารคาม : อภิชาติการพิมพ์. บดินทร์ วิจารณ์. (2547). การจัดการความรู้สู่... ปัญญาปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : เอ็กซเปอร์เน็ท. บุญดี บุญญากิจ และคณะ. (2547). การจัดการความรู้ จากทฤษฎีสู่การการปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : บริษัท จิรวัฒน์เอ็กเพรส จำกัด. ประภา เหล่ามบูรณ์. (2553). รายงานการวิจัยแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาพันธุ์ข้าวพื้นเมืองของ เกษตรกรรายย่อย อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี. ราชบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้าน จอมบึง. ประสิทธิ์ ซองขันปอน. (2545). การพัฒนาหลักสูตรการติดตาพันธุ์องุ่นสำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. ปริญญานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศิลปากร. ปัทมาวรรณ สิงห์ศรี. (2551). “การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยขององค์การกับกระบวน การจัดการความรู้ในสถาบันอุดมศึกษา : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยพายัพ” วารสาร บริหารธุรกิจ. 31(117): 17 – 37. พรธิดา วิเชียรปัญญา. (2547). การจัดการความรู้ : พื้นฐานการประยุกต์ใช้. กรุงเทพมหานคร : ธรรมกมลการพิมพ์. พรรณี สวนเพลง. (2552). เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมสำหรับการจัดการความรู้. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ด ยูเคชั่น. พัชรี สำโรงเย็น. (2557). ข้าวพันธุ์ใหม่. สมุทรสาคร : นาคา อินเตอร์มิเดีย. มาเรียม นิลพันธุ์และคณะ. (2556). “การพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนที่เน้น ความแตกต่างระหว่างบุคคล,” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร. 33 (2) : 87-88. ยุทธนา แซ่เตียว. (2547). การวัด การวิเคราะห์ การจัดการความรู้ : สร้างองค์การอัจฉริยะ. กรุงเทพมหานคร : สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. วิจารณ์ พาณิช. (2547). “การจัดการความรู้คืออะไร”. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http://ww.kmi.or.th (12 มิถุนายน 2555). วิจารณ์ พานิช. (2548). การจัดการความรู้ฉบับนักปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ. วิจารณ์ พานิช. (2549). การจัดการความรู้ฉบับนักปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานพิมพ์สุขภาพใจ. สมชาย นำประเสริฐชัย. (2558). การจัดการความรู้. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น. สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์. (2553). การจัดการความรู้กับนวัตกรรม. ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : สามลดา. สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร. (2550). “ขั้นตอนการผลิตข้าว” (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.ricethailand.go.th/info.riceknowledgea. (25 กรกฎาคม 2557). สุวิมล โพธิ์กลิ่น. (2553). “ทำไมจึงต้องมีการจัดการความรู้ในสถานศึกษา,”วารสารบริหาร การศึกษาบัณฑิต. 10(3) : 87-91. สุรางค์ ธูปบูชากร. (2553). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการจัดทำ school Mapping. ดุษฎีนิพนธ์ ปรด. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. สุพรรณี ชัยพิพัฒน์. (2551). การจัดการอนุรักษ์พันธุ์ข้าวพื้นเมืองของกลุ่มผลิตเมล็ดพันธุ์ ข้าวไร่ บ้านน้ำเย็น ตำบลกกสะทอน อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย. ปริญญานิพนธ์ ศษ.ม. เลย : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. สุวรรณ เหรียญเสาวภาคย์ และคณะ. (2548). “การจัดการความรู้ (Knowledge Management).” ชุดเครื่องมือการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning Tool Kits). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ ก.พลพิมพ์ จำกัด. เสถียร ฉันทะ. (2554). ความหลากหลายพันธุ์ข้าวพื้นเมืองและการอนุรักษ์ของชุมชนในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. ดุษฎีนิพนธ์ ปรด. มหาสารคาม : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. อมรศรี แสงส่องฟ้า. (2553). การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมการสอนภาษาอังกฤษเป็น ภาษาต่างประเทศเพื่อการเสริมสร้างความรู้และทักษะปฏิบัติการสดอบและการวัดผล ภาษาอังกฤษในชั้นเรียนของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา. ดุษฎีนิพนธ์ ปรด. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. Davenport, T.H., D. W. De Long and M. C. Beers. (1998). “ Successful knowledge Management projects.” Sloan Management Review. 39(2) : 43-57. . and L. Prusak. (1998). Working Knowledge : How Organizations Manage What They Know. Harward : Business School Press.n.p. Kucza, T. (2001). Knowledge Management Process Model. VTT Publications.111 (Online). http://www.mendeley.com/research/, 15 เมษายน 2555 Nonaka, I., and Takeuchi, H. (1995). The Knowledge-creating company : How Japanese companies create the dynamic of innovation. Oxford : Oxford University Press. Sayor,J.Galen, William M. Aexander and Arthur J. Lewis. (1981). Curriculum Planning for Better Teaching and Learning. 4thed. New York : Holt, Rinehart & Winston. TabaHild. (1962). Curriculum Development : Theory and Practice. New York : Hurcourt, Brace &World. Tyler, Raph W. (1949). The step of Curriculum Development. Chicago : University of Chicago Press. Weistein, Gerald and Mario D. Fantini. (1970). Toward Humanistic Education. New York : Praeger.

หน่วยงานการอ้างอิง

สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

ไฟล์แนบ

pdf รวม

ขนาดไฟล์ 9 MB | จำนวนดาวน์โหลด 347 ครั้ง

ความคิดเห็น