ผศ.ดร.วรวัฒน์ พรหมเด่น posted an update 1 year, 1 month ago
ผศ.ดร.วรวัฒน์ พรหมเด่น posted an update 1 year, 1 month ago
ผศ.ดร.วรวัฒน์ พรหมเด่น posted an update 1 year, 7 months ago
ผศ.ดร.วรวัฒน์ พรหมเด่น posted an update 1 year, 7 months ago
ผศ.ดร.วรวัฒน์ พรหมเด่น posted an update 2 years, 1 month ago
1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรวัฒน์ พรหมเด่น สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะครุศาสตร์ H-index 10 (Biochemistry | Molecular biology | Phytochemistry | Natural product) Citation : 263
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทรนันท์ ทวดอาจ สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ H-index 6 (Applied chemistry | Materials chemistry) Citation : 354
3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศรัญญา มณีทอง สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ H-index 5 (Analytical Chemistry) Citation : 135
4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาพร ชื่นชูจิตร สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร คณะวิทยาศาสตร์ H-index 4 (Science | Public health | B0iomedical science) Citation : 169
5. อาจารย์ ดร.อรุณรัศมี แสงศิลา สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะครุศาสตร์ H-index 2 (Food biotechnology | Probiotic | Natural products) Citation : 72
ผศ.ดร.วรวัฒน์ พรหมเด่น posted an update 2 years, 1 month ago
ผศ.ดร.วรวัฒน์ พรหมเด่น เขียนโพสต์ใหม่, การพัฒนาสูตรปุ๋ยเคมีที่มีผลต่อการเพิ่มขนาดลำต้นกุหลาบในกระถาง เมื่อ 2 years, 7 months ago
การพัฒนาสูตรปุ๋ยเคมี
ผศ.ดร.วรวัฒน์ พรหมเด่น เขียนโพสต์ใหม่, การศึกษาผลของปุ๋ยเคมีต่อการส่งเสริมการเจริญเติบโตของกุหลาบที่ปลูกในแปลงดิน เมื่อ 2 years, 7 months ago
Poster_Rose Fertilizer
ผศ.ดร.วรวัฒน์ พรหมเด่น เขียนโพสต์ใหม่, ผลของความเข้มข้นของการใช้สารเมพิควอทคลอไรด์ ต่อการขยายขนาดลำต้นกุหลาบ เมื่อ 2 years, 7 months ago
เมพิควอทคลอไรด์
ผศ.ดร.วรวัฒน์ พรหมเด่น เขียนโพสต์ใหม่, ผลของเชื้อราอาร์บัสคูลาไมคอร์ไรซาต่อปริมาณราก และการเจริญเติบโตของต้นกุหลาบ เมื่อ 2 years, 7 months ago
ผลของเชื้อราอาร์บัสคูลาไมคอร์ไรซาต่อปริมาณรากและการเจริญเติบโตของต้นกุหลาบ
ผศ.ดร.วรวัฒน์ พรหมเด่น เขียนโพสต์ใหม่, ผลของซิลิกอนต่อคุณภาพการเจริญเติบโต ความแข็งแรง ความทนทานของต้นกุหลาบ เมื่อ 2 years, 7 months ago
โปสเตอร์-Silicon
ผศ.ดร.วรวัฒน์ พรหมเด่น เขียนโพสต์ใหม่, การประเมินประสิทธิภาพของการเตรียมและการบรรจุผลิตภัณฑ์ชีวภาพจุลินทรีย์สดเพื่องานเกษตร เมื่อ 2 years, 7 months ago
การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์สดเพื่องานเกษตร
ผศ.ดร.วรวัฒน์ พรหมเด่น posted an update 2 years, 7 months ago
ผศ.ดร.วรวัฒน์ พรหมเด่น เขียนโพสต์ใหม่, อบรมเชิงปฏิบัติการ การเผยแพร่ผลงานวิชาการผ่าน Personal Website เมื่อ 4 years, 7 months ago
วันที่ 16 มีนาคม 2563 เข้าอบรมเชิงปฏิบัติการเผยแพร่ผลงานวิชาการผ่าน Google Scholar และ Personal Website
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้อบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจในแนวทางการเผยแพร่ผลงานวิชาการผ่าน Personal Web […]
ผศ.ดร.วรวัฒน์ พรหมเด่น เขียนโพสต์ใหม่, Author details-Scopus2019: Worrawat Promden เมื่อ 4 years, 7 months ago
ข้อมูลทางวิชาการ Scopus 2019 : ผศ.ดร.วรวัฒน์ พรหมเด่น
h-index: 6
Total citations: 120 by 116 documents
Help Page
ผศ.ดร.วรวัฒน์ พรหมเด่น posted an update 4 years, 7 months ago
การตรวจคัดแยกและระบุสายพันธุ์แบคทีเรียกลุ่ม Vibrio ในอาหารประเภทยำทะเลด้วยวิธีเพาะเลี้ยงและวิธีทางอณูชีววิทยา – อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์
นางสาวภูสุดา วงศ์จำปา นางสาวปิยะมาศ ผาเจริญ และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วรวัฒน์ พรหมเด่น
การตรวจคัดแยกและระบุสายพันธุ์แบคทีเรียกลุ่ม Vibrio ในอาหารประเภทยำทะเลด้วยวิธีเพาะเลี้ยงและวิธีทางอณูชีววิทยา ที่สุ่มเก็บตัวอย่างจากร้านค้าในอำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 5 ร้าน เก็บตัวอย่าง1 ครั้ง/สัปดาห์ เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ตั้งแต่วันที่ 16 พฤศจิกายน 2562 ถึง 17 ธันวาคม 2562 นำตัวอย่างมาเพาะเลี้ยงเชื้อบนอาหาร TCBS agar ซึ่งสามารถบ่งชี้สกุลของเชื้อ Vibrio ตามคุณสมบัติการหมักน้ำตาลซูโครสพบโคโลนีที่เจริญ 4 ลักษณะ คือ สีเหลืองเข้ม ขนาด 0.1 – 0.3 เซนติเมตร สีเหลืองขาวขุ่น ขนาด 0.3 – 0.5 เซนติเมตร สีเขียวเข้ม ขนาด 0.1 – 0.3 เซนติเมตร และสีเขียวขาวขุ่น ขนาด 0.3 – 0.5 เซนติเมตร โคโลนีที่เจริญบน TCBS agar ถูกสุ่มมาตรวจยืนยันลักษณะทางอณูชีววิทยา ด้วยเทคนิคพีซีอาร์ (Polymerase Chain Reaction ; PCR) เพื่อวิเคราะห์ลำดับยีน 16sRNA พบเชื้อ Vibrio 7 สปีชีส์ คือ V. mediterranei, V. harveyi, V. parahaemolyticus, V. shilonii, V. neonates, V. campbellii และ V. alginolyticus และยังพบเชื้อชนิดอื่น ๆ ได้แก่ Shewanella sp. , S. algae, Aeromonas cavias, A. veronii, A. taiwanensis, A. dhakensis, A. enteropelogenes และ Klvyvera sp. โดยเป็นเชื้อก่อโรค ในมนุษย์ ได้แก่ V. alginolyticus, A. cavias, S. algae และ Klvyvera sp. เป็นเชื้อก่อโรคในสัตว์ ได้แก่ V. harveyi, V. campbellii, A. dhakensis และ Shewanella sp. ดังนั้น การบริโภคยำทะเลที่ไม่ถูกปรุงสุก หรือปรุงสุก ๆ ดิบ ๆ ในอำเภอเมืองบุรีรัมย์ มีโอกาสเสี่ยงต่อโรคอาหารเป็นพิษ
Copyright © 2019 Developed by BRU Comnet @ Buriram Rajabhat University.