ผู้วิจัย
สกรณ์ บุษบง1*, ทิพวัลย์ แสนคํา2, นพพัสสร พูนสังข์3, และ มนัสวี เดชบันดิษ4
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) พัฒนาโปรแกรมระบบจัดการคลังเลือด (รับเลือด-จ่ายเลือด) ตรวจสอบอุณหภูมิภายในตู้เย็นจัดเก็บหมู่เลือด พร้อมทั้งแจ้งเตือนเมื่ออุณหภูมิออกนอกช่วงควบคุมให้แสดงผ่านไลน์บอทพร้อมชุดอุปกรณ์ติดตามตําแหน่งแบบ Real-timeและ 2) ประเมินประสิทธิภาพของระบบจัดการคลังเลือดออนไลน์กลุ่มเป้าหมายคือ แพทย์นักเทคนิคการแพทย์ และพยาบาลจํานวน 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) ภาษาที่ใช้ในการพัฒนา ได้แก่ PHP, HTML5, CSS, AngularJsและ JSON 2) Framework ได้แก่Bootstrap Framework3)โปรแกรม ได้แก่Visual Studio Code, XamppและArduino IDE4)ฐานข้อมูล ได้แก่ Firebase Real-time Database5)อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ได้แก่ NodeMCU ESP8266 V3, Sensor DHT22/AM2302,GPS Shield, RFID Reader and Tagและ จอLCD6)เทคโนโลยีเชื่อมต่อ ได้แก่NETPIEและ 7)แบบประเมินประสิทธิภาพของระบบผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการพัฒนาโปรแกรมระบบจัดการคลังเลือด พบว่า ชุดอุปกรณ์สามารถบันทึกค่าอุณหภูมิลงเว็บแอพพลิเคชั่นแล้วทําการส่งค่าอุณหภูมิตู้เก็บเลือดไปยังไลน์บอทแบบ Real-time ในกรณีที่อุณหภูมิไม่อยู่ในช่วง 2-6 องศาเซลเซียส หมู่เลือดที่ใกล้หมดอายุ โดยไลน์บอทจะทําการแจ้งเตือนอุณหภูมิและแจ้งเตือนหมู่เลือด 7 วันก่อนหมดอายุทันที นอกจากนั้นยังสามารถติดตามตําแหน่งของกล่องเก็บความเย็นที่อยู่บนรถขนส่งกล่องเก็บความเย็นได้จากRFID Tag แบบ Real-time โดยจะเห็นกล่องเก็บความเย็นเคลื่อนที่ตามเส้นทางที่รถขนส่งกล่องเก็บความเย็นกําลังเดินทางในขณะนั้นและ 2) ผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบจัดการคลังเลือดออนไลน์พร้อมชุดอุปกรณ์แจ้งเตือนอุณภูมิตู้เก็บเลือด โดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งจากผู้ใช้งานโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดมีค่าเฉลี่ยที่ 4.56
บรรณานุกรม
[1] ศราวุฒิ ชาติชัย.(2560, 7 กรกฎาคม). นักเทคนิคการแพทย์สัมภาษณ์ โรงพยาบาลพุทไธสง อําเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์.สัมภาษณ์.[2] ชูวงศ์ สีตะพงศ,และเฉลิมชัย. (2560).BloodBankTH ตัวช่วยจัดการข้อมูลการบริจาคโลหิต.สืบค้นจาก http://www.digitalagemag.com/bloodbankth-ตัวช่วยจัดการข้อมูลการบริจาคโลหิต. [3] ณัฐพล อิสโรฬาร. (2556).Arduino & Raspberry Pi สําหรับวัดความชื้นในอากาศ: โครงงาน. สงขลา: สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.[4] อุเทน ขันทะบุตร, สราญรัตน์ เชาวะนะ, และพรพิมล กันทะวงศ์.(2557). การควบคุมตู้อบแห้งแบบใช้ปั๊มความร้อนด้วยระบบสมองกลฝังตัว.สืบค้นจาก https://prezi.com/wif-rg4q_ize/presentation/[5] ภราดรรีชัยพิชิตกุล, นคร สร้อยสน, และธนพล กองสันเทียะ. (2559). ระบบบริหารครุภัณฑ์โดยใช้เทคโนโลยีRFIDกรณีศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.วารสารการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม, 3(2), 65-71.[6] มุหัมมัด มั่นศรัทธา,มูฆอฟฟัล มูดอ,อับดุลเลาะ สะนอยานยา,และซุลกีฟลี กะเด็ง. (2560).ระบบเปิดปิดไฟอัตโนมัติภายในห้องน้ําโดยใช้โครงข่ายเซ็นเซอร์ไร้สาย ESP8266/NodeMCU.วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์,9(2), 73-82. [7] Škraba, A. Koložvari, D. Kofjač, R. Stojanović, V. Stanovov &E. Semenkin,(2017). Prototype of group heart rate monitoring with NODEMCU ESP8266. In2017 6th Mediterranean Conference on Embedded Computing (MECO), (pp. 1-4).Bar.doi: 10.1109/MECO.2017.7977151[8] Priya, C.G., AbishekPandu, M., & Chandra, B. (2017). Automatic plant monitoring and controlling system over GSM using sensors. In 2017 IEEE Technological Innovations in ICT for Agriculture and Rural Development (TIAR), (pp.173-176). Chennai. doi:10.1109/tiar.2017.8273710[9] Singh,Hari Shankar &Singh,Uma Shankar. (2017). Study on Google Firebase for Website Development (The real time database). International Journal of Engineering Technology Science and Research, 4(3), 364-367.Retrieved from file:///C:/Users/Admin/Downloads/Documents/1491130534_mit382_ijetsr_m.pdf[10] Kumar,K.N.Manoj,Akhi, Kailasa,Gunti, Sai Kumar, &Reddy,M.Sai Prathap.(2016).Implementing Smart Home UsingFirebase.International Journal of Research in Engineering and Applied Sciences (IJREAS),6(10), 193-198.Retrieved from http://euroasiapub.org/implementing-smart-home-using-firebase[11] บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น(พิมพ์ครั้งที่ 10).กรงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
ความคิดเห็น