ผู้วิจัย

วราลี โกศัย

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เป็น การพัฒนาการเขียนแผนการจัดประสบการณ์โดยใช้การจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบบูรณาการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการเขียนแผนการจัดประสบการณ์โดยใช้การจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบบูรณาการ กลุ่มเป้าหมายของการวิจัยในครั้งนี้ เป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ที่กำลังศึกษาภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ที่ศึกษาในรหัสวิชา 1073702 วิชาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย 1 จำนวน 61 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบ่งเป็น 2 แบบ คือ แบบการจัดกิจกรรมการเขียนแผนการจัดประสบการณ์แบบบูรณาการ และแบบประเมินการเรียนรู้ การวิเคราะห์ข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังการทดลอง โดยใช้ t – test ผลการวิจัย พบว่านักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ที่กำลังศึกษาภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ที่ศึกษาในรหัสวิชา 1073702 วิชาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย 1 จากการทดลองมีพัฒนาการเรื่องการเขียนแผนการจัดประสบการณ์โดยใช้การจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบบูรณาการ มีค่าเฉลี่ยคะแนนสูงขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อเปรียบเทียบก่อนการทดลอง

บรรณานุกรม

บรรณานุกรม กรมวิชาการ (2539) คู่มือการจัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการ ประถมศึกษาแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์คุรุสภา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2543) การปฏิรูปการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญที่สุด: แนวทางการสู่ ปฏิบัติ กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2546) คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 (สำหรับเด็กอายุ 3-5 ปี) กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2546) หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2539) แนวปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็น ศูนย์กลาง หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 10 กร่าง ไพรวรรณ (2545) “ผู้เรียนเป็นสำคัญ” สานปฏิรูป 4,47 (กุมภาพันธ์): 47-49 กิ่งพร สินธวงษ์ และสุลัดดา ลอยฟ้า (2545) “ปฏิรูปการเรียนรู้สู่ผู้เรียนเป็นกลาง” วารสารส่งเสริมปฏิรูปการ เรียนการสอน 11,1 (มกราคม-เมษายน): 1-12 กองวิจัยการศึกษา กรมวิชาการ (2545) การวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียนรู้ กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์คุรุสภา เกียรติวรรณอมาตยกุล (2538) สอนให้อัจฉริยะตามแนวนีโอฮิวแมนนิส กรุงเทพมหานคร: ที พี พริ้นท์ เกียรติวรรณอมาตยกุล(2541) “การศึกษานีโอฮิวแมนนิสและการพัฒนาสมองให้เด็กหัวดี” วารสารคุณค่า (กรกฏาคม-ตุลาคม) คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เกียรติวรรณอมาตยกุล (2543) ฉลาด เก่ง ดี และมีความสุข จะช่วยให้ลูกรักเป็นคนที่สมบูรณ์ได้อย่างไร กรุงเทพมหานคร: ที พี พริ้นท์ กุลยา ตันติผลาชีวะ (2544) การสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ วารสารการศึกษาปฐมวัย 5,3 (กรกฏาคม):17-25 กุลยา ตันติผลาชีวะ (2545) การประเมินตามสภาพจริง วารสารการศึกษาปฐมวัย 6,1 (มกราคม): 26-23 กุลยา ตันติผลาชีวะ (2545) รูปแบบการเรียนการสอนปฐมวัยศึกษา กรุงเทพมหานคร บริษัทเอดิสัน เพรส โปรดักส์ จำกัด คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สำนักงาน (2542) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 กรุงเทพมหานคร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สำนักงาน (2543) การเรียนรู้ของเด็กไทยตามแนวคิดไฮสโคป กรุงเทพมหานคร บริษัทอเมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน) คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สำนักงาน (2543) เด็กปฐมวัยของสหรัฐอเมริกา: รายงานการพัฒนาและ การเรียนรู้ กรุงเทพมหานคร บริษัทพริกหวานกราฟฟิก จำกัด คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สำนักงาน (2543) ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้: ผู้เรียนเป็นสำคัญที่สุด กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สำนักงาน (2544) รายงานการอภิปรายเรื่อง พุทธธรรมนำการศึกษาได้ อย่างไร กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จิราภรณ์ศิริทวี (2541) เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง การวัดและประเมินผลด้วย Portfolio กรุงเทพมหานคร ศูนย์พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน สำงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ชาตรี สำราญ (2544) การวิจัยต่างๆสำหรับครู พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพมหานคร มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์ ชัยอนันต์ สมุทวณิช (2540 ก) เพลิน-สมาธิที่สนุก กรุงเทพมหานคร วชิราวุธวิทยาลัย ชัยอนันต์ สมุทวณิช (2540 ข) PLEARN เพลิน เล่น เรียน กรุงเทพมหานคร วชิราวุธวิทยาลัย ทองปลิว ชมชื่น (2544) ปรัชญาการศึกษา ใน ประมวลสาระชุดวิชา ปรัชญา และหลักการศึกษานอกระบบ หน่วยที่2 หน้า 55-117 นนทบุรี สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ทักษิณ ชินวัตร (2544) “การอภิปรายและเสนอแนวยุทธศาสตร์ในการปฏิรูปการศึกษา” ในรายงานการ ประชุมเรื่องวิสัยทัศน์ และยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษา วาระแห่งชาติ สำงานคณะกรรมการ การศึกษาแห่งชาติ ทิศนา แขมมณี (2545) ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ กรุงเทพมหานคร สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย น้อมศรี เคท (2545) การวิจัยในชั้นเรียนระดับอนุบาล กรุงเทพมหานคร พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พ.ว.) นันทสาร สีสลับ (2546) “ศาสนาและวัฒนธรรมกับการศึกษา” ใน ประมวลสาระชุดวิชาบริบททางการศึกษา หน่วยที่ 4 หน้า 161-219 นนทบุรี สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นันทิยา ตันศรีเจริญ (2546) “ฌองปิอาเช่ต์” บุรุษผู้เชื่อมั่นในศักยภาพของเด็ก สานปฏิรูป 6,66 (ตุลาคม) : 25-28 บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ์ (2544) การประเมินการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ: แนวคิด และวิธีการ กรุงเทพมหานคร สำงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ประทุม อังกูรโรหิต (2543) ปรัชญาปฏิบัตินิยม: รากฐานปรัชญาการศึกษาในสังคมประชาธิปไตย พิมพ์ครั้ง ที่ 3 กรุงเทพมหานคร สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประมวล ดิคคินสัน (2553) เร่งลูกมากเกินไปอันตรายยิ่งนัก แปลจาก The Hurried Child: Growing Up Too Fast Too Soon โดย David Elkind(1981) กรุงเทพมหานคร บริษัทแปลนพับบลิชชิง จำกัด ประเวศ วะสี (2542) “แนวคิดเกี่ยวกับระบบพัฒนาการเรียนรู้” สานปฏิรูป 2,13 (มีนาคม) : 31-33 ประเวศ วะสี (2543) “ปฏิรูปการเรียนรู้แก้ไขความทุกข์ยากของแผ่นดิน” แนวคิดเกี่ยวกับการปฏิรูปการ เรียนรู้ กรุงเทพมหานคร สำงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ประเวศ วะสี (2544) “ยุทธศาสตร์ทางปัญญาและการปฏิรูปการศึกษา” รายงานการประชุมเรื่อง วิสัยทัศน์ และยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษา: วาระแห่งชาติ สำงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ปี่ซังข้าวน้อย (2547) สำนักการการเรียนรู้ “เรียนรู้อย่างอิสระปรัชญาการศึกษาของกฤษณมูรติ ” สานปฏิรูป 7, 72(เมษายน): 20-23 ปรัชญา เวสารัชช์ (2545) “สภาพสังคมและเศรษฐกิจกับการศึกษา” ใน ประมวลสาระชุดวิชา บริบททาง การศึกษาหน่วยที่ 2 หน้า 41-100 นนทบุรี สำนักพิพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต) (2539) จิตวิทยาเพื่อการพัฒนาคนตามแนวธรรมชาติ สมาคมจิตวิทยาแห่ง ประเทศไทย กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์บริษัทสหธรรมิก จำกัด พัชรี ผลโยธิน (2543) “การจัดทำสารนิทัศน์การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย” วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช 13,1 (มกราคม-เมษายน): 100-104 ภัสสร ผิวขาว (2546) การสอนในโรงเรียนมัธยมศึกษา หมวดวิชาภาษาต่างประเทศ โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ฝ่ายมัธยม) วศินี อิศรเสนา ณ อยุธยา (2545) การศึกษาความคิดสร้างสรรค์ที่ได้รับประสบการณ์ วางแผน ปฏิบัติ ทบทวน ตามแนวการสอนแบบไฮสโคปของนักเรียนชั้นเด็กเล็ก โรงเรียนสาธิต มศว. ประสานมิตร (ฝ่ายประถม) กรุงเทพมหานคร โรงเรียนสาธิต มศว. ประสานมิตร (ฝ่ายประถม) วิจักษณ์ พานิช (2547) จดหมายถึงคุณลุงประเวศ (2) มิติของความศักดิ์สิทธิ์ในการเรียนรู้ สานปฏิรูป 7,79 (พฤศจิกายน): 82-83 วิจิตร ศรีสอ้าน (2545)” ปรัชญาการศึกษาร่วมสมัย” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาพื้นฐานการศึกษา หน่วยที่ 7 หน้า 215-231 นนทบุรี สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช วิชัย วงศ์ใหญ่ (2544) “แนวทางการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้: ผู้เรียนสำคัญที่สุด” ใน บทบาทครู ด้านการวิจัยในชั้นเรียน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2541) การจัดการเรียนการสอนที่เป็นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง กรุงเทพมหานคร บริษัท ต้นอ้อ จำกัด วัลลภ กันทรัพย์ (2534) “ข้อน่าคิดก่อนการสอนภาษาอังกฤษตั้งแต่ ป.1”การพัฒนาความรู้ 11,107 (ตุลาคม- พฤศจิกายน): 28-29 สายสุรี จุติกุล (2543) กระบวนการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย กรุงเทพมหานคร ห้างหุ้นส่วนจำกัดบางกอก บล็อก-ออฟเซ็ทการพิมพ์ สุภาภรณ์ มั่นเกตุวิทย์ (2545) ตัวอย่างการวิจัยในชั้นเรียน: ประสบการณ์ตรงของครูต้นแบบ พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพมหานคร สำนักพิมพ์สารอักษร สุมน อมรวิวัฒน์ (2546) วิถีการเรียนรู้: คุณลักษณะที่คาดหวังในช่วงวัย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา แห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี กรุงเทพมหานคร บริษัท พริกหวานกราฟฟิก จำกัด สุวิมล ว่องวาณิช (มมป.) การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน คู่มือการวิจัยในชั้นเรียนสำหรับโรงเรียนสังกัด กรุงเทพมหานครอัดสำเนา สุวิมล ว่องวาณิช (2542) แนวคิดและหลักการของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน กรุงเทพมหานคร ภาควิชา วิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สุวิมล ว่องวาณิช (2543)“แนวคิดและหลักการของการวิจัยในชั้นเรียน” ในพิมพันธ์ เดชะคุปต์ ลัดดา ภู่ เกียรติ และสุวัฒนา สุวรรณ เขตนิยม (บบณาธิการ) ประมวลบทความ นวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ สำหรับครูยุคปฏิรูปการศึกษา กรุงเทพมหานคร คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สุเรขา พันธเดช (2546) “จอห์น ดิวอี้ เรียนรู้จากการปฏิบัติเพื่อสร้างสรรค์ประสบการณ์ใหม่” สานปฏิรูป 6,68 (ธันวาคม): 21-24 อารี สัณหฉวี (2543) พหุปัญญาในห้องเรียน: วิธีการสอนเพื่อพัฒนาปัญญาหลายด้าน แปลจาก Multiple Intelligence in the Classroom โดย Thomas Armstrong ศูนย์พัฒนาหนังสือ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ

หน่วยงานการอ้างอิง

มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

ความคิดเห็น