ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จการบริหารทรัพยากรมนุษย์

ผู้แต่ง

  • รังสิมา สว่างทัพ
  • ชนินาถ ทิพย์อักษร
  • กิตติกวินทร์ เอี่ยมวิริยะวัฒน์
  • กิติกร ฮวดศร
  • รพีพรรณ พงษ์อินทร์วงศ์

คำสำคัญ:

การจัดกระบวนทัศน์ทางการบริหารทรัพยากรมนุษย์, ความรับผิดชอบต่อสังคม, ความสำเร็จของการบริหารทรัพยากรมนุษย์

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการกระบวนทัศน์และความรับผิดชอบต่อสังคมส่งผลต่อความสำเร็จการบริหารทรัพยากรมนุษย์ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็กในจังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 243 คน การดำเนินการวิจัยประกอบด้วยการทดสอบความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่นของเครื่องมือ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยสถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอย ผลการศึกษาพบว่า 1) การจัดการกระบวนทัศน์ทางการบริหารทรัพยากรมนุษย์ส่งผลเชิงบวกต่อความสำเร็จการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 2) ความรับผิดชอบต่อสังคมซึ่งประกอบด้วยการจ้างแรงงานในท้องถิ่น ส่งผลเชิงบวกต่อความสำเร็จการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ผลการวิจัยครั้งนี้เป็นแนวทางในการนำไปใช้ในการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ในบริบทของจังหวัดบุรีรัมย์ต่อไป

References

กรมอาเซียน. ประชาคมอาเซียน. (ออนไลน์) 2555. (อ้างเมื่อ11 พฤศจิกายน 2559). จาก http://www.mfa.go.th/asean/contents/files/asean-media-center-20121126-190330-788160.pdf
จิรประภา อัครบวร. 2549. สร้างคนสร้างผลงาน. กรุงเทพมหานคร: ก.พลพิมพ์.
จิรประภา อัครบวร. กระบวนทัศน์ใหม่ในการบริหารทรัพยากรมนุษย์. (ออนไลน์) 2558. (อ้างเมื่อ 11 พฤศจิกายน 2559). จาก https://www.youtube.com/watch?v=qjqdlmiCVY0
เวปไซต์จังหวัดบุรีรัมย์. บรรยายสรุปจังหวัดบุรีรัมย์. (ออนไลน์) 2558. (อ้างเมื่อ กรกฎาคม 2558) จาก http://www.buriram.go.th/bru/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=54
Arthurs, J.D., & Busenitz, L.W. Dynamic capabilities and venture performance: The effects of venture capitalists. Journal of Business Venturing , 21 : 195-215. 2006.
Barney, J. “Firm Resources and Sustained Competitive Advantage,” Journal of Management. 17(1): 99-120. 1991.
David, A.G., Noble, S.M., & Chen, Q. “The performance implications of entrepreneurial proclivity: A dynamic capabilities approach”, Journal of Retailing. 82(1), 51-62. 2006.
Eisenhardt, K. M. and J. A. Martin. “Dynamic capabilities: What are they? ,” Strategy
Management Journal. 21:1105-1121
Hair, F. and others. Multivariate Data Analysis. 6th ed. New Jersey : Pearson
Prentice Hall International, Inc. 2006.
Jirawuttinunt, S. and Ussahawanitchakit, P. Strategic human capital orientation and sustainable business performance: an empirical assessment of hotel businesses in Thailand. International Journal of Strategic Management.11(3). 2011.
Mahoney, T and Deckop, R. Evolution of Concept and Practice in
Personnel Administration/ Human Resource Management (PA/HRM). Journal of Management. 12 (2), 223-241. 1986.
Marler, J. Strategic Human Resource Management in Context: A Historical and Global Perspective. Academy of Management Perspectives. 6-11.2012.
Nunnally, Jum C. and Bernstein, Ira H. (1994). Psychometric Theory..New York, NY.,McGraw-Hill.
Lynes, J and Andrachuk, M. Motivations for corporate social and environmental
responsibility: A case study of Scandinavian Airlines. Journal of International
Management. 14: 377–390, 2008.
Teece, D. J. “Explicating dynamic capabilities: The nature and micro
foundations of ( sustainable) enterprise performance”, Strategic Management
Journal, 28:1319-1350. 2007.

เผยแพร่แล้ว

05-02-2020