ผู้วิจัย

สุดารัตน์ ปีนะภา, จิรวัฒน์ วิมุตติสุขวิริยา, ธวัชระพงษ์ วงศ์สกุล

บทคัดย่อ

งานวิจัยเรื่องการออกแบบและพัฒนาอิฐดินซีเมนต์ผสมเศษกก มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและพัฒนาการผลิตอิฐดินซีเมนต์ โดยใช้วัสดุเศษกกที่เหลือทิ้งจากการงานหัตถกรรม แทนการทิ้งสู่สิ่งแวดล้อมและเพื่อศึกษาคุณสมบัติเชิงกลของอิฐดินซีเมนต์ที่ผลิตได้กับเกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนอิฐบล็อกประสาน โดยในการศึกษาวิจัยได้นำดินลูกรังจากพื้นที่อำเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ และเศษกกจากชุมชนตำบลพรสำราญ อำเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ และได้ทำการออกแบบส่วนผสมทั้งหมด 21 สัดส่วนผสม โดยแปรผันสัดส่วนของปูนซีเมนต์ต่อดินลูกรังเป็น 1:4 1:5 1:6 1:7 และ 1:8 และแปรผันสัดส่วนของเศษกกต่อน้ำหนักของปูนซีเมนต์เป็น 0.01 0.03 และ 0.05 เท่า ผลจากการทดสอบในห้องปฏิบัติการพบว่าสัดส่วนที่เหมาะสมสำหรับการนำไปผลิตต้นแบบคือสัดส่วนปูนซีเมนต์ต่อดินลูกรัง 1:5 เนื่องจากมีกำลังรับแรงอัดเป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนอิฐบล็อกประสาน ทั้งนี้เมื่อนำสัดส่วนดังกล่าวไปผลิตต้นแบบผลิตภัณฑ์อิฐดินซีเมนต์ผสมเศษกกแล้วพบว่า สัดส่วนที่เหมาะสมสำหรับการนำไปผลิตคือ 1 : 5 : 0.01 ซึ่งจะได้ผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะผิวเรียบ มีเศษกกกระจายที่ผิวอยู่ประปราย และสัดส่วน 1 : 5 : 0.03 ซึ่งจะได้ผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะเศษกกกระจายอยู่ทั่วทั้งก้อนอิฐ

บรรณานุกรม

ของดีบ้านเฮา. (2011). ประวัติและความเป็นมาของต้นกก. สืบค้นเมื่อ 3 เมษายน 2560 จากhttps://panumassasen.wordpress.com/ประวัติและความเป็นมาขอ/ ครัวบ้านพิม. (2558). เก็บกระเป๋าก้าวลงบันไดไปเที่ยวแบบ Buriram Style กับครัวบ้านพิม. สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2560 จาก https://www.pim.in.th/outside/900-buriram2015-5 คำชาย พันทวงศ์ และคณะ. (2557). การพัฒนาบล็อกปูนซีเมนต์ขาวผสมฟางข้าวเสริมไม้ไผ่. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ครั้งที่ 52,17-24. จรูญ เจริญเนตรกุล. (2557). อิฐบล็อกประสานที่มีส่วนผสมเถ้าและกะลาปาล์มน้ำมัน. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 2(1) : 103-112. จิรวัฒน์ วิมุตติสุขวิริยา. (2558). การศึกษาคุณสมบัติเถ้าชานอ้อยผสมซีเมนต์. รายงานวิจัย. บุรีรัมย์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. _______. (2559). การศึกษาคุณสมบัติเถ้าชานอ้อยผสมซีเมนต์และหินฝุ่น. รายงานวิจัย. บุรีรัมย์ : บริษัทบุรีรัมย์พลังงานจำกัด. จิรศักดิ์ ภูริพันธ์วิชัย และคณะ. (2544). การศึกษาคอนกรีตบล็อกจากเถ้าชานอ้อย. ปริญญานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ณัฐพงศ์ จันทร์เพ็ชร์และวุฒินัย กกกาแหง. (2559). การทดสอบความสามารถในการรับกำลังของบล็อกประสานประเทศไทย. วารสาร มทรส., 4(2) :196-206. ณัฐพงศ์ ยศตื้อ และคณะ. (2559). แนวทางการผลิตวัสดุผนังประเภทบล็อกดินประสานผสมเซรามิกเหลือทิ้งเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการประหยัดพลังงาน.วารสารวิชาการ ศิลปะสถาปัตยกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 7(1) : 15-25. นิพนธ์ ตันไพบูลย์กุล. (2560). การใช้ฝุ่นจากโรงโม่หินแทนที่ซีเมนต์ในการทำอิฐบล็อกประสาน.วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 9(1) : 126-135. นิโรจน์ เงินพรหม และ สำเริง รักซ้อน. (2555). พัฒนาดินซีเมนต์ลูกรังผสมวัสดุเถ้าทิ้งจากผลผลิตอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมเป็นอิฐประสาน. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. บจก. เซ็นเตอร์เวฟ. (2014). ราคาบล็อกแก้วทั้งหมด. ค้นเมื่อ 3 สิงหาคม 2556, จาก http://homeone.tarad.com. บริษัทบางกอกเซรามิคจำกัด. (2014). บล็อกแก้ว ลายธรรมชาติ. ค้นเมื่อ 4 สิงหาคม 2556, จากhttp://bangkokceramic.co.th/laithai. บริษัทเอสซีจีเอ็กซพีเรียนซ์จำกัด. (2555). แผ่นผนังสำเร็จรูป. ค้นเมื่อ 6 สิงหาคม 2556, จาก http://www.scgexperience.co.th/th/product. บ้านในฝัน. (2014). ไฟเบอร์ซีเมนต์. ค้นเมื่อ 4 สิงหาคม 2556, จาก http://baannaifun.blogspot.com. บ้านสวนพอเพียง. (2016). บล็อกประสาน. สืบค้นเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2560 จาก http://www.bansuanporpeang.com/node/16463. ประชุม คำพุฒ และคณะ. (2558). การใช้ฝุ่นหินภูเขาไฟในผลิตภัณฑ์บล็อกประสาน.วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 3(2):239-247. ปิยนุช ม่วงทองและคณะ. (2557). อิทธิพลของวัสดุปอซโซลาน ประเภทวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตรที่มีผลต่อสมบัติเชิงกลของอิฐดินซีเมนต์. โครงการวิจัย. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์, ประจวบคีรีขันธ์. พงศ์พัน วรสุนทโรสถ และวรพงศ์ วรสุนทโรสถ. (2555). วัสดุก่อสร้าง. กรุงเทพ ฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น. พงศ์ภูมิ ศรชมแก้ว. (2555). การผลิตอิฐบล็อกประสานจากกากอุตสาหกรรม. โครงการวิจัย. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์, ประจวบคีรีขันธ์. พิทักษ์ น้อยวังคลัง , ยุพาวดี น้อยวังคลัง . (2544). การศึกษากระบวนการย้อมสีเส้นกกด้วยสีธรรมชาติกับสีวิทยาศาสตร์ และกระบวนการทอ รวมทั้งการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. พิทักษ์พงศ์ ป้อมปราณี. (2558). การพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรที่เหมาะสมโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่เกษตรกรในจังหวัดนครปฐม. วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน. 8 (1) : 134 – 149. พิภพ สุนทรสมัย. (2540). วัสดุวิศวกรรมการก่อสร้าง. กรุงเทพ ฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น). พืชผัก พืชสมุนไพร. (ม.ป.ป.). ต้นกก. สืบค้นเมื่อ 3 เมษายน 2560 จากhttp://thailand-an-field.blogspot.com/2010/03/blog-post_13.html โพซี วาจิ ซูฮายา หะยีหามะ และอาบีดีน ดะแซสาเมาะ. (2556). การถ่ายเทความร้อนของอิฐบล็อกประสานชนิดไม่รับน้ำหนักที่มีส่วนผสมของเถ้าไม้ยางพารา. วารสารหน่วยวิจัย วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 4(1) : 1-6. ภูษิต เลิศวัฒนารักษ์ และจตุพร ตั้งศิริสกุล. (2007). ผลของวัสดุทางธรรมชาติที่มีต่อคุณสมบัติของก้อนอิฐดินดิบสำหรับการก่อสร้างบ้านดิน. Architectural/Planning Research and Studies, 5 ; 187-199. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2009). ปูนก่อ ปูนฉาบ. ค้นเมื่อ 31 กรกฎาคม 2556, จากhttp://web.ku.ac.th/schoolnet/snet7/pkpk.htm. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน มผช.602/2547. (2547). อิฐบล็อกประสาน. กรุงเทพฯ : สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กระทรวงอุตสาหกรรม. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.1123-2555. (2555). สีรองพื้นสำหรับงานปูน. กรุงเทพฯ : กระทรวงอุตสาหกรรม. _______. มอก.57-2530. (2530). คอนกรีตบล็อกรับน้ำหนัก. กรุงเทพฯ : กระทรวงอุตสาหกรรม. _______. มอก.58-2530. (2530). คอนกรีตบล็อกไม่รับน้ำหนัก. กรุงเทพฯ : กระทรวงอุตสาหกรรม. _______. มอก.77-2545. (2545). อิฐก่อสร้างสามัญ. กรุงเทพฯ : กระทรวงอุตสาหกรรม. วชิระ แสงรัศมี. (2555). การพัฒนาบล็อกประสานน้ำหนักเบาจากเยื่อกระดาษเหลือทิ้ง. โครงการจัดประชุมวิชาการ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 12-20. วรรชัย เกษกัน. (2547). กำลังแกนเดียวของดินเม็ดหยาบผสมซีเมนต์บดอัด.วิทยานิพนธ์, สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, นครราชสีมา. วัจนพร พิญญพงษ์ และประดิพัฒน์ พิสิฐนฤดม. (2558). ผลของขนาดคละทรายที่มีผลต่อกำลังรับแรงอัดและการดูดซึมน้ำของบล็อกประสาน. การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ,ครั้งที่ 20, ชลบุรี : 1-9. วัฒนา ธรรมมงคล และ วินิต ช่อวิเชียร (2532). ปฐพีกลศาสตร์. ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2556). วงศ์กก. สืบค้นเมื่อ 3 เมษายน 2560 จากhttps://th.wikipedia.org/wiki/วงศ์กก วิษณุรักษ์ เทียมวีรสกุล และ นที อทิกคุณาการ. (2543). การศึกษากำลังรับแรงอัดของมอร์ตาร์ผสมเถ้าชานอ้อย. ปริญญานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. รัชนี คงเมืองและคณะ. (2554). การผลิตบล็อกประสานโดยใช้กากตะกอนจากกระบวนการทำน้ำเกลือให้บริสุทธิ์ของโรงงานเหมืองแร่เกลือหิน จังหวัดนครราชสีมา.การประชุมเสนอ ผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มสธ., ครั้งที่ 1, 1-12. ศักดิ์สิทธิ์ ศรีแสงและคณะ. (2550). การศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมของวัสดุผสม สำหรับคอนกรีตบล็อกชนิดไม่รับน้ำหนักที่มีส่วนผสมของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ทราย และเส้นใยมะพร้าว. วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา, 1(1) : 77-87. ศูนย์ผลิตภัณฑ์อิฐ บ.ป.ก. (2011). อิฐกลวง อิฐโปร่ง อิฐช่องลม. ค้นเมื่อ 2 สิงหาคม 2556, จากhttp://bpkbrick.nalueng.com/products?action=view&id=1994. สนธยา แพพัฒโนทัย. (2548). กำลังอัดของดินเม็ดละเอียดผสมซีเมนต์บดอัด.วิทยานิพนธ์, สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, นครราชสีมา. สุชีรา กุลชนะประสิทธิ์ และ ชูชัย สุจิวรกุล. (2548). ผลกระทบของเถ้าชานอ้อยต่อคุณสมบัติของมอร์ตาร์ปอร์ตแลนด์. สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย. ชลบุรี. การประชุมวิชาการโยธาแห่งชาติครั้งที่ 10 : หน้า 67-72. สุบรรณ ตาคำวัน และคณะ. (2558). คุณสมบัติทางกลบล็อกประสานผสมเถ้ากะลามะพร้าว. การประชุมวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรมระดับชาติ, ครั้งที่ 8, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 195-200. สุรพล จันทราปัตย์ และ กันยารัตน์ เชี่ยวเวช (2553). การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าวของชาวนาชั้นนำในจังหวัดพิษณุโลก. วิทยานิพนธ์. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สุวัฒชัย ปลื้มฤทัย. (2555). การพัฒนาคอนกรีตบล็อกจากผักตบชวา. วิทยานิพนธ์ ภาควิชาสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร. สำเร็จ สารมาคม. (2556). การประยุกต์ใช้เถ้าลอยในการผลิตบล็อกประสาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต. นครราชสีมา : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. หัตถกรรมทอเสื่อกก. (2558). ลวดลายเสื่อ. สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2560 จาก http://mynewotopbanpang.blogspot.com/2015_12_01_archive.html อลิสรา คูประสิทธิ์. (ม.ป.ป.). เทคโนโลยีบล็อกประสาน วว. เพื่อการสร้างอาคารราคาประหยัด.สืบค้นเมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2560 จาก http://www.tistr.or.th/tistrblog/?cat=417. อาทิมา ดวงจันทร์. (2549). การพัฒนาคอนกรีตบล็อกผสมเถ้าชานอ้อยสาหรับงานก่อสร้าง.วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. อาทิมา ดวงจันทร์ และ สุวิมล สัจจวาณิชย์. (2548). คอนกรีตบล็อกผสมเถ้าชานอ้อย. สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย. ชลบุรี. การประชุมวิชาการคอนกรีตแห่งชาติครั้งที่ 2 : หน้า 6-10. อาบีดีน ดะแซสาเมาะและคณะ. (2558). อิฐบล็อกประสานที่มีส่วนผสมของเถ้าไม้ยางพารา.วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 10(1) : 77-86. BEDO (2015). Expert (ภูมิปัญญา/ปราชญ์). สืบค้นเมื่อ 3 เมษายน 2560 จาก http://www.biogang.net/expert_view.php?uid=57298&id=9715 Braja M. Das (2008). Advanced Soil Mechanics. Taylor & Francis e-library: 3rd edition. Medison Eve, New York, USA. Mitchell. J.K. and E.L. Jack, S.A. (1966). The fabric of soil-cement and its formation.Proceeding 14th National Conference on Clay and Clay Minerals, Vol. 26, pp.297-305. Morrison, H.J. (1965). A Report on Research and Development Progation forLaterite, Lateritic Soil, and Highway Construction in the Kingdom of Thailand, J.E. Grainer, Baltimore Mareyland, U.S.A. Siambig. (ม.ป.ป.). เทคโนโลยีการก่อสร้างด้วยอิฐบล็อกประสาน. สืบค้นเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2560 จาก http://www.siambig.com. THAI CON. (ม.ป.ป.). Method of Lay Brick. บริษัทไทยไล้ท์บล็อกแอนด์แพเนลจำกัด. ค้นเมื่อ 15 มกราคม 2556, จาก www.thaiconproduct.com WiseGeek. (2014). Concrete Batch Plant. Retrieved August 2, 2013, from http://www.wisegeek.com/what-is-a-concrete-block.htm

หน่วยงานการอ้างอิง

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

ความคิดเห็น