
บทคัดย่อ
ตะโกนาและหมากเค็ง นำมาทำการสกัด โดยสกัดด้วยตัวทำละลาย 4 ชนิด ได้แก่ เฮกเซน ไดคลอโรมีเทน เอทิลอะซิเตท และเอทานอล เพื่อศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH radical scavenging assay ผลการศึกษา พบว่า สารสกัดหยาบใบตะโกนาและใบหมากเค็ง ด้วยเอทานอล มีเปอร์เซ็นต์สารสกัดมากที่สุด มีค่าเท่ากับ 6.01 และ 1.48 ตามลำดับ สารสกัดหยาบใบตะโกนาและใบหมากเค็งมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระมีค่า IC50 เท่ากับ 0.37 และ 0.49 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตรตามลำดับ
บรรณานุกรม
กรกนก โอภาสตระกูล. (2555). การพัฒนาตารับยาน้าสมุนไพรบารุงร่างกาย. (ออนไลน์). อ้างจาก : http://pharm.kku.ac.th/ isan-journal/journal/volumn9-supplement/PDF_Page-1-186/Page_11-16.PDF .จักรพงศ์ ไพบูลย์. (2556). สารต้านอนุมูลอิสระ. (ออนไลน์).อ้างจาก : http://guru.sanook.com/4519/ .ชุติมา ชัยสนิท จันทรกานต์ ศรีสมทรัพย์ รัตนา ปานเรียนแสน และวิชัย เชิดชีศาสตร์. (2555). ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งต่อมลูกหมากของสมุนไพรในกลุ่มยาอายุวัฒนะ. (ออนไลน์). อ้างจาก : http://tdc.thailis.or.th/tdc/dccheck.php?Int_code=91&RecId=52004&obj_i d=355133&showmenu=no .ดอกจานเรดิโอ. (2557). ใบหมากเค็ง. (ออนไลน์).อ้างจาก : http://www.dokjaan.com/ webboard/index.php?topic=340.0 .ทักษิณ อาชวาคม และคณะ. (2551). พืชกินได้ในป่าสะแกราชเล่ม 1. ปทุมธานี : สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราชม. น้ำฝน เบ้าทองคำและผศ.ถนอมนวลพรหมบุญ. (2556). ศึกษาสารต้านอนุมูลอิสระและปริมาณสารฟีนอลลิกทั้งหมดของเห็ดป่ากินได้ 5 ชนิดจากป่าชุมชนบ้านน้าจางในเขตพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์. (ออนไลน์). อ้างจาก : http://research.pcru.ac.th/rdb/pro_data/files/5604007.pdf พัชรี ภคกษมา. (2535). ส่วนประกอบทางเคมีของตะโกนา.กรุงเทพมหานคร : ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ไทย.พยุงศักดิ์ ตันติไพบูลย์วงศ์ และสุรศักดิ์ ใจเขียนดี. (2555). การวัดฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธีการทำลายอนุมูลดีพีพีเอชและการฟอกสีอนุมูลเอบีทีเอส. น. 21-26. ใน ชลธิชา เทพหนลัพ (บรรณาธิการ). เทคนิคในการตรวจวัดอนุมูลอิสระ สารต้านอนุมูลอิสระ และดัชนี.มานะ ชัยรอดชื่น. (2557). การสกัดด้วยคาร์บอนไดออกไซด์ภายใต้สภาวะวิกฤติยวดยิ่ง.(ออนไลน์). อ้างจาก : http://stdb .most.go.th/scientist_detail.aspx?id=20085 ,ยุวดี จอมพิทักษ์.(2010). ตะโกนา. (ออนไลน์). อ้างจาก :http://frynn.com/ %E0%B8%95% E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%81%E0% B8%99% E0%B8%B2/, 14 ธันวาคม 2558. ระวิวรรณ แก้วอมตวงศ์ และ ทรงพร จึงมั่นคง. (2549). ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ DPPH และ ปริมาณสารฟีนอลรวมของสารสกัดพืชสมุนไพรไทย. (ออนไลน์). อ้างจาก : http://www.ubu.ac.th/ web/files_up /08f2013032216193276.pdf เริงนภรณ์ โม้พวง สุรัตน์ บุญผ่อง และสายฝน ซุ่นขวัญ. (2549). ฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระจากยอดมะคึก.(ออนไลน์). อ้างจาก : http://newtdc. thailis.or.th/docview.aspx?tdcid=41549 วันเช็ง สิทธิกิจโยธิน และดวงฤดี เชิดวงศ์เจริญสุข. (2554). ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากเปลือกหุ้มเมล็ดมะขามหวานและมะขามเปรี้ยว. (ออนไลน์). อ้างจาก : http://www.sci.buu.ac.th/research/ downloads/journal/2554-1/2554-1-06.pdf , วิมลา ดีแท้. (2555). ศึกษาพืชโด่ไม่รู้ล้มและตะโกนา. (ออนไลน์).อ้างจาก : http://library.cmu.ac.th/ digital_collection/etheses/index.php สถาบันนวัตกรรมและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล ส่วนประกอบของเครื่องสเปกโทรโฟโตมิเตอร์. (2555). ส่วนประกอบของเครื่องสเปกโทรโฟโตมิเตอร์. (ออนไลน์). อ้างจาก : http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/color-light/ page4_2.html , สวนพฤกษศาสตร์สายยาไทย. (2555). ดอกตะโกนา. (ออนไลน์). อ้างจาก :http://www.saiyathai.com/ สุกญัญาขนัติ มงคล และอรสา สุริยาพนัธ์. (2550). สมบตัิการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระดีพีพีเอชของสารสกัดจากเมล็ดมะละกอพันธุ์แขกดำ. (ออนไลน์) : http://www.kmutt.ac.th/ crdc_symposium /data/46-49.pdf .อภิชาต วรรณวิจิตร ศิริพัฒน์เรืองพยัคฆ์. (2553). อนุมูลอิสระ. (ออนไลน์). อ้างจาก : http://dna.kps. ku.ac.th/index.php/ articles-rice-rsc-rgdu-knowledge/36-free-radicle-antioxidant-anthrocyanidin .อุไรวิธพลเยี่ยม.(2555). หมากเค็ง. (ออนไลน์). อ้างจาก : http://www.samunpri.com/%E0%B9%80%E0%B8%82%E0 %B8%A5%E0%B8%87
ความคิดเห็น