ผู้วิจัย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทศพร แก้วขวัญไกร

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการจัดการกลุ่มชุมชนทอผ้าไหม อาเภอบ้านด่าน จังหวัด บุรีรัมย์ 2) เปรียบเทียบการจัดการกลุ่มชุมชนทอผ้าไหม อาเภอบ้านด่าน จังหวัดบุรีรัมย์ และ 3) วิเคราะห์ความ อยู่รอดการจัดการกลุ่มชุมชนทอผ้าไหม อาเภอบ้านด่าน จังหวัดบุรีรัมย์ เครื่องมือในการวิจัยได้ใช้แบบสัมภาษณ์ เชิงลึกแบบกึ่งมีโครงสร้าง และแบบสัมภาษณ์กลุ่มสนทนาประเด็นเฉพาะ การวิเคราะห์ข้อมูลเกิดจากการนา ข้อมูลที่ได้มาจาแนกและจัดระบบข้อมูลแบบใช้ทฤษฎี และนามาเปรียบเทียบเหตุการณ์ของแต่ละกลุ่มชุมชนทอ ผ้าไหมเพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับความอยู่รอดการจัดการกลุ่มชุมชนทอผ้าไหม ผลการวิจัย พบว่า การจัดการกลุ่ม ชุมชนทอผ้าไหม อาเภอบ้านด่าน จังหวัดบุรีรัมย์ มีองค์ประกอบวิเคราะห์ 3 มิติ กล่าวคือ มิติที่ 1 ปัจจัยนาเข้าที่ ต้องอาศัยรากฐานแห่งความเข้มแข็งและการบริหารจัดการของกลุ่มชุมชนทอผ้าไหม กลุ่มที่มีจุดเด่นมิติที่ 1 มี 3 หมู่บ้าน คือ บ้านหนองแต้ ตาบลโนนขวาง บ้านสัมพันธ์ ตาบลวังเหนือ และบ้านบุ ตาบลปราสาท เนื่องจากทั้ง 3 หมู่บ้านมีการรวมกลุ่มกันในการกาหนดทิศทางของการพัฒนาอย่างเป็นประชาธิปไตย มิติที่ 2 กระบวนการ ผลิตที่พิจารณาด้านการเงินการลงทุนและการจัดทาบัญชี รวมทั้งด้านการผลิต พบว่าทั้ง 10 กลุ่มชุมชนทอผ้าไหม ไม่มีปัญหาการผลิตหรือวัตถุดิบซึ่งสามารถหาได้ในพื้นที่ชุมชนและพื้นที่ใกล้เคียง แต่กลุ่มที่มีจุดเด่นมิติที่ 2 ใน ด้านการเงินการลงทุนและการจัดทาบัญชี มี 2 หมู่บ้าน คือ บ้านสัมพันธ์ ตาบลวังเหนือ และบ้านปอแดง ตาบล โนนขวาง ที่มีศักยภาพในการตรวจสุขภาพทางการเงินการลงทุนของกลุ่มอย่างเป็นรูปธรรม มีเงินสารองไว้ใช้จ่าย ในด้านต่างๆ และมิติที่ 3 ผลิตภัณฑ์ อันประกอบด้วยด้านการตลาดและด้านผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์และฉลาก สินค้า พบว่า มี 2 หมู่บ้านที่มีศักยภาพในการแข่งขันกับตลาดภายนอกที่สามารถยกระดับสินค้าให้สอดคล้องกับ วัฒนธรรมร่วมสมัยในปัจจุบัน มี 2 หมู่บ้าน คือ บ้านหนองแต้ ตาบลโนนขวาง และบ้านบุ ตาบลปราสาท โดยทั้ง 2 หมู่บ้านมียอดขายสินค้าและบริการเพิ่มขึ้นทุกปี รวมทั้งมีการฉลากและบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างเป็นสัญลักษณ์ต่อ การรับประกันสินค้า โดยสรุปการวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบความอยู่รอดการจัดการกลุ่มชุมชนทอผ้าไหมที่มี ศักยภาพที่สามารถสร้างภูมิคุ้มกันกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพในอาเภอบ้านด่าน จังหวัดบุรีรัมย์ประกอบด้วย 3 หมู่บ้าน คือ บ้านสัมพันธ์ ตาบลวังเหนือ บ้านหนองแต้ ตาบลโนนขวาง และบ้านบุ ตาบลปราสาท คำสำคัญ: ควำมอยู่รอด กำรจัดกำร ชุมชนทอผ้ำไหม

บรรณานุกรม

กระทรวงมหาดไทย. (2539). รำชกิจจำนุเบกษำ 113 (พิเศษ 18 ง): ประกำศกระทรวงมหำดไทย เรื่องแบ่งเขต ท้องที่อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ ตั้งเป็นกิ่งอำเภอบ้ำนด่ำน. กรุงเทพฯ: กระทรวงมหาดไทย. กลุ่มทอผ้าไหมบ้านกระชายสามัคคี. (2561, 4 กันยายน). สมาชิกกลุ่มทอผ้าไหมบ้านกระชายสามัคคี. [บทสัมภาษณ์.] กลุ่มทอผ้าไหมบ้านเกษตรพัฒนา. (2561, 18 กันยายน). สมาชิกกลุ่มทอผ้าไหมบ้านเกษตรพัฒนา. [บทสัมภาษณ์.] กลุ่มทอผ้าไหมบ้านดอนไม้งาม. (2561, 11 กันยายน). สมาชิกกลุ่มทอผ้าไหมบ้านดอนไม้งาม. [บทสัมภาษณ์.] กลุ่มทอผ้าไหมบ้านบุ. (2561, 25 กันยายน). สมาชิกกลุ่มทอผ้าไหมบ้านบุ. [บทสัมภาษณ์.] กลุ่มทอผ้าไหมบ้านปอแดง. (2561, 7 สิงหาคม). สมาชิกกลุ่มทอผ้าไหมบ้านปอแดง. [บทสัมภาษณ์.] กลุ่มทอผ้าไหมบ้านไผ่ทุ่ง. (2561, 21 สิงหาคม). สมาชิกกลุ่มทอผ้าไหมบ้านไผ่ทุ่ง. [บทสัมภาษณ์.] กลุ่มทอผ้าไหมบ้านสัมพันธ์. (2561, 24 กรกฎาคม). สมาชิกกลุ่มทอผ้าไหมบ้านสัมพันธ์. [บทสัมภาษณ์.] กลุ่มทอผ้าไหมบ้านโสนน้อย. (2561, 9 กรกฎาคม). สมาชิกกลุ่มทอผ้าไหมบ้านโสนน้อย. [บทสัมภาษณ์.] กลุ่มทอผ้าไหมบ้านหนองแต้. (2561, 14 สิงหาคม). สมาชิกกลุ่มทอผ้าไหมบ้านหนองแต้. [บทสัมภาษณ์.] กลุ่มทอผ้าไหมบ้านอารัง. (2561, 19 กรกฎาคม). สมาชิกกลุ่มทอผ้าไหมบ้านอารัง. [บทสัมภาษณ์.] จริยา แอนเดอร์สัน. (2561, 10 กันยายน). ผู้นากลุ่มทอผ้าไหมบ้านดอนไม้งาม. [บทสัมภาษณ์.] ทศพร แก้วขวัญไกร, ศราวุฒิ กุตาวัน, และสุพรรณี สิงห์แก้ว. (2557).แนวทางการพัฒนาธุรกิจรีสอร์ทกรณีศึกษา เรือนนางรองรีสอร์ท เมืองนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์. วำรสำรวิจัยและพัฒนำมหำวิทยำลัยรำชภัฏบุรีรัมย์, 9(1), 39-48. ทศพร แก้วขวัญไกร. (2560ก). การยกระดับการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนสู่ความยั่งยืนในยุคไทยแลนด์ 4.0. ในงำนประชุมวิชำกำรระดับชำติเรื่อง “วิจัยจำกองค์ควำมรู้สู่กำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืน: นวัตกรรมและ เทคโนโลยีวิชำกำร 2017”. การประชุมวิชาการระดับชาติจัดโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อีสาน วิทยาเขตสุรินทร์. สุรินทร์. ทศพร แก้วขวัญไกร. (2560ข). ทางรอดวิกฤติเศรษฐกิจด้วยแนวทางวิสาหกิจชุมชน. วำรสำรวิชำกำร มหำวิทยำลัย รำชภัฏบุรีรัมย์ สำขำมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์, 9(2),33-50. ทศพร แก้วขวัญไกร. (2560ค). แนวทางการพัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมสู่ คุณค่าทางสังคมเพื่อยกระดับเป็นมรดกการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่างยั่งยืนในศตวรรษที่ 21. ในงำนประชุมวิชำกำรท่องเที่ยวระดับชำติครั้งที่ 1 “กำรพัฒนำกำรท่องเที่ยวไทยสู่ศตวรรษที่ 21”. การประชุมวิชาการระดับชาติ จัดโดยมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. อุบลราชธานี. ทศพร แก้วขวัญไกร, บัญชา จันทราช, ภวิหาญ พะนุมรัมย์, รุ่งนภา เมินดี, ศิระ เพ็ชรจาเริญสุข, และวณิชา แผลงรักษา. (2559). การวิจัยเชิงปฏิบัติการบูรณาการเพื่อแก้ปัญหาความยากจนของเกษตรกรผู้ผลิต ข้าวหอมมะลิอินทรีย์โดยใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในตาบลเสม็ด อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์. ในรำยงำนสืบเนื่องจำกกำรประชุมวิชำกำรระดับชำติและนำนำชำติ “รำชภัฏวิจัยครั้งที่ 4”. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติจัดโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, บุรีรัมย์ ทศพร แก้วขวัญไกร, รพีพรรณ พงษ์อินทร์วงศ์, ณัฐวุฒิ ชูขวัญ, ศศิพิมพ์มาศ หงส์สมบัติและกิตติกร ฮวดศรี. (2561). การพัฒนาศักยภาพบุคลากรภาคอุตสาหกรรมบริการ กรณีศึกษาเขตพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์. ในบทคัดย่อ กำรประชุมวิชำกำรนำเสนอผลงำนวิจัยระดับชำติและนำนำชำติ ครั้งที่ 2. การประชุมวิชาการจัดโดย มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด, ร้อยเอ็ด. ทองดี จงกะชาติ. (2561, 6 สิงหาคม). ผู้นากลุ่มทอผ้าไหมบ้านปอแดง. [บทสัมภาษณ์.] ทิพวัลย์ สีจันทร์. (2546). พลวัตกำรเกษตรและเศรษฐกิจชุมชนภำคกลำง. กรุงเทพฯ: บริษัทพิมพ์ดี จากัด. น้อย สาละ. (2561, 23 กรกฎาคม). ผู้นากลุ่มทอผ้าไหมบ้านสัมพันธ์. [บทสัมภาษณ์.] บังอร ประกอบแจ่ม. (2561, 13 สิงหาคม). ผู้นากลุ่มทอผ้าไหมบ้านหนองแต้. [บทสัมภาษณ์.] บุญเติม เชิดรัมย์. (2561, 8 กรกฎาคม). ผู้นากลุ่มทอผ้าไหมบ้านโสนน้อย. [บทสัมภาษณ์.] ปรีชา ปาโนรัมย์, ทศพร แก้วขวัญไกร, และกุลกันยา ศรีสุข. (2552). การพัฒนาแบบบูรณาการเพื่อแก้ปัญหาความ ยากจน: กรณีศึกษาบ้านโคกใหญ่ หมู่ 9 ตาบลเสม็ด อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์. วำรสำรวิจัย มข,14(8), 724-734. ปรีชา ปาโนรัมย์, และทศพร แก้วขวัญไกร. (2552). มาตรฐานการดาเนินงานของบริษัทจัดส่งแรงงานไป ต่างประเทศและผลกระทบที่มีต่อแรงงานไทยที่เดินทางไป กรณีศึกษาบริษัทจัดส่งแรงงานภายในเขต อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์. วำรสำรสำนักงำนคณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ, 41(2), 13-31. วทัญญู ใจบริสุทธิ์.(2561, 25 สิงหาคม). การศึกษาโครงการหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ภายใต้วาทกรรม ความเป็นสินค้า. กองทุนวิจัยมหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์ประจำปีงบประมำณ 2556. สืบค้นจาก file:///C:/Users/User/Downloads/82708-Article%20Text-200428-1-10-20170411.pdf ศศินันท์ เจียมรัมย์. (2561, 24 กันยายน). ผู้นากลุ่มทอผ้าไหมบ้านบุ. [บทสัมภาษณ์.] สลักฤทัย สมฤทธิ์, และไพฑูรย์ อินต๊ะขัน. (2555). การบริหารต้นทุนและผลตอบแทนผลิตภัณฑ์จากผ้าทอไทลือ อาเภอเชียงค้า จังหวัดพะเยา.วำรสำรกำรจัดกำร คณะวิทยำกำรจัดกำร มหำวิทยำลัยรำชภัฏลำปำง, 5(1), 116-125. สัตตยา ดูชาติรัมย์. (2561, 3 กันยายน). ผู้นากลุ่มทอผ้าไหมบ้านกระชายสามัคคี. [บทสัมภาษณ์.] สายฝน นามบุตร. (2561, 17 กันยายน). ผู้นากลุ่มทอผ้าไหมบ้านเกษตรพัฒนา. [บทสัมภาษณ์.] สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561, 27 สิงหาคม). แผนพัฒนำเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชำติฉบับที่สิบสอง พ.ศ.2560-2564.สืบค้นจาก http://www.nesdb.go.th/ewt_dl_link.php?nid=6422 สานักงานเทศบาลตาบลบ้านด่าน.(2561, 6 กันยายน).ข้อมูลพื้นฐำนสำนักงำนเทศบำลตำบลบ้ำนด่ำน. สืบค้น จาก http://www.bandancity.go.th/index.php?op=staticcontent&id=15827 สานักงานพัฒนาชุมชน. (2561, 6 กันยายน). ประวัติควำมเป็นมำผ้ำไหมบุรีรัมย์. สืบค้นจาก http://phanomrungsilk.com/about_th.html สีนวน งดงาม. (2561, 18 กรกฎาคม). ผู้นากลุ่มทอผ้าไหมบ้านอารัง. [บทสัมภาษณ์.] สุวิษา นะรานรัมย์. (2561, 20 สิงหาคม). ผู้นากลุ่มทอผ้าไหมบ้านไผ่ทุ่ง. [บทสัมภาษณ์.] อินท์ชลิตา วัชรีจิระโชติ. (2556). การศึกษาเปรียบเทียบการจัดการวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตผ้าไหม อาเภอบ้านเขว้า และกลุ่มผลิตผ้าไหม อาเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ. วำรสำรวิชำกำรบริหำรธุรกิจ สมำคม สถำบันอุดมศึกษำเอกชนแห่งประเทศไทย (สสอท.), 2(2), 47-63. Phong-inwong, R., &Kwangkhankrai, T. (2013). Transformations Leaderships, Policy of Government, Social Responsibility Awareness and Community Performance: Evidence from Community of Municipality Buriram, Thailand. Paper presented at the 7th NRCT-ICSSR Joint Seminar on Inclusive Growth, Poverty Reduction and Human Security. Bangkok: Thailand Research Expo 2013.

ความคิดเห็น