ผู้วิจัย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทศพร แก้วขวัญไกร

บทคัดย่อ

วิสาหกิจชุมชนเป็นแนวคิดอีกวิธีหนึ่งที่จะสามารถขับเคลื่อนเศรษฐกิจบนพื้นฐานแห่งความพอเพียงให้เกิดมีประสิทธิภาพ อันเนื่องจากสภาพเศรษฐกิจในขณะนี้ของประเทศมีความยากจนเป็นที่ตั้งทาให้เกิดการหาวิธีในการแก้ปัญหาดังกล่าว ด้วยการกลับมาพิจารณาสิ่งที่อยู่รอบตัวในบริบทที่มีอยู่ในปัจจุบันจากพื้นฐานทรัพยากรชุมชน ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาและทุนสังคมที่มีรากฐานผูกพันซับซ้อนเป็นสายสัมพันธ์ที่เข้มแข็งนามาสร้างเป็นสินค้าและบริการในรูปของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนด้วยวิธีดังกล่าว ทาให้เห็นช่องทางเพื่อก้าวข้ามการแข่งขันที่รุนแรงในโลกธุรกิจมาสร้างฐานที่มีอยู่ให้เกิดพลังเพิ่มขึ้นรวมทั้งการสร้างเจตคติให้สานึกรักบ้านเกิดที่ไม่ต้องอพยพเคลื่อนย้ายแรงงานมาในเมืองเศรษฐกิจที่จะทาให้เกิดปัญหาตามมาในอนาคต (Peredo, 2006: 309) โดยให้หันมาพัฒนาชุมชนท้องถิ่นให้เกิดความยั่งยืน การจะทาให้บรรลุเป้าหมายของการพึ่งตนเองด้วยรากฐานของตนเองให้เกิดความสาเร็จได้นั้น มีหลายปัจจัยที่ส่งผลกระทบให้เกิดผลดีซึ่งสิ่งที่สาคัญของการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนจะต้องมีการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนที่ดีด้วยเพื่อให้เกิดกรอบแนวความคิดในการกาหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ ความต้องการและการตรวจสอบต่างๆ ให้เป็นไปตามหลักวิทยาศาสตร์ ดังนั้นในการวิเคราะห์ครั้งนี้จะทาการพิจารณาถึงการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนประกอบด้วย 1.บทบาทและความสาคัญของการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน 2.การบริหารจัดการสาหรับผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน 3.องค์ประกอบของการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน 4.การบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนภายใต้ความเสี่ยง 5.บทส่งท้าย คำสำคัญ: การบริหารจัดการ, วิสาหกิจชุมชน, ความยั่งยืน

บรรณานุกรม

กรมส่งเสริมการเกษตร, สานักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน. (ออนไลน์). คู่มือการประเมินศักยภาพ วิสาหกิจชุมชน. สืบค้น http://www.sceb.doae.go.th/DataAdvertise/ (วันที่ 2 มิถุนายน 2559). สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศ ไทย. (2557). การบริหารความเสี่ยง. พ.ศ. 2558. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. สมบัติ กุสุมาวลี. (2547). บริหารจัดการทรัพยากร มนุษย์ ไปเพื่ออะไร ?. โครงการบัณฑิตศึกษา การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์, ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 16 ธันวาคม 2547 ปีที่ 28 ฉบับที่ 3645, หน้า 6. สยุมพร โยธาสมุทร, วินัย อาจคงหาญและนุกูล กรยืนยงค์. (2528). การจัดการสหกรณ์. กรุงเทพฯ: กรมการฝึกหัดครู กระทรวงศึกษาธิการ. สุมาลี สันติพลวุฒิและรสดา เวษฎาพันธุ์. (2558). การ ประเมินผลการดาเนินงานของวิสาหกิจ ชุมชน: กรณีศึกษาการลงทุนพัฒนาเครื่อง ผลิตแผ่นข้าวตังของวิสาหกิจชุมชนยโสธร พัฒนา จังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสาร เกษตรศาสตร์ (สังคม) ปีที่ 36: 437-447 (2558). Armstrong, Michael (2006). A Handbook of Human Resource Management Practice (10th edition ed.). London: Kogan Page. ISBN 0-7494-4631-5. OCLC 62282248 Chen, S. (2009). Academic Administration. Hauppauge, US: Nova Science Publishers, Inc.. Retrieved from http://www.ebrary.com Harbour, Jeremy. (2012). Go Do!: For people who have always wanted to start a business(1). Somerset, GB: Capstone. Proquest ebrary. Web 3 May 2016. Koontz, H., Cyrill O’Donnell & Heinz Weihrich. (1980). Management, 7th ed. Mc Graw-Hill Kogakusha. Peredo, M. A., & Chrisman, J. J. (2006). Toward a theory of community-based enterprise. Academy of Management Review, 31(2): 309-328. S.Rengasamy. (Online). Introduction to Community Organization. Madurai Institute of Social Sciences Community Organization. Retrieved from www.bahaistudies.net/neurelitism/Library/com munity-organization.pdf (สืบค้นวันที่1 มิถุนายน 2559) Scarlat, C., Brustureanu, B., & Popescu, T. (2012). Entrepreneurial vs Administrative Management in not-for-profit oraganizations- public administration and universities. Management Knowledge and Learning, International Conference, 671-682. Secretariat Office of the Community Enterprise Promotion Board. (2005). what is “Community enterprise?”. Retrieved August 24, 2014, from http://www.sceb.doae.go.th/Documents/Pdf/ DefinitionCE.pdf Si Kahn. (Online). 20 Principles for Successful Community Organizing. Retrieved from www.alternet.org/story. Posted on: May 6, 2005, Source: AlterNet. (สืบค้นวันที่ 1 มิถุนายน 2559) Teece, D.J. (2016). Dynamic capabilities and entrepreneurial management in large organizations: Toward a theory of the (entrepreneurial) firm. European Economic Review, http://dx.doi.org/10.1016/j. euroecorev.2015.11.006

ความคิดเห็น