ผู้วิจัย

สมบัติ ประจญศานต์1 วิสาข์ แฝงเวียง2 ปิยชนม์ สังข์ศักดา3

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายสถานภาพผลงานวิชาการการศึกษาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในจังหวัดบุรีรัมย์ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ผ่านการศึกษาจากตัวอย่างผลงานวิชาการที่มีการเผยแพร่ตั้งแต่ พ.ศ. 2533-2561 จํานวน 20 รายการ ประกอบด้วย หนังสือวิชาการ รายงานการวิจัย บทความ รายงานสืบเนื่องจากการประชุม และวิทยานิพนธ์ โดยนําเสนอผล การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการบรรยาย เพื่อแสดงให้เห็นภาพรวม และสาระสําคัญของการศึกษาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผลการศึกษา พบว่าในช่วงเกือบ 3 ทศวรรษที่ผ่านมา การผลิตผลงานวิชาการในจังหวัดบุรีรัมย์ยังมีจํานวนจํากัด ส่วนใหญ่เป็นนักวิชาการในพื้นที่ โดยมีเนื้อหาสาระในประเด็น 3 ประเด็นหลัก คือ การก่อรูปของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น การอนุรักษ์ และเทคโนโลยีอาคาร ทั้งนี้ ผลลัพธ์ ที่ได้จากการศึกษาดังกล่าวผู้ที่สนใจสามารถใช้ประโยชน์เป็นข้อมูลพื้นฐานในการสืบค้น อ้างอิง และการตั้งประเด็นในการศึกษา สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในจังหวัดบุรีรัมย์ที่ยังมีช่องว่างต่อไป ค าส าคัญ : สถาปัตยกรรม, สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น, บุรีรัมย์ Abstract This article aims to explain a status of academic outputs in vernacular architecture study in Buri Ram Province, northeast of Thailand. The review of this article is based on 20 samples of academic outputs published during 1990-2018 A.D., i.e. texts, research reports, articles, conference proceedings and thesis, then to present all analyzed data by description and to demonstrate an overview and a substantial of study from the past till now. The results have shown that during a few decades the academic outputs Most of the scholars in the local. There are various study approaches which can be categorized into 3 main contents, namely vernacular architecture formation, conservation and building technology. The outcome of this article is useful as the database for search, reference and development of research question for anyone interested. which also includes the next gap Keyword : Architecture, Vernacular Architecture, Buri Ram

บรรณานุกรม

[1] สุภาวดี เชื้อพราหมณ์ และอรศิริ ปาณินท์, “การอ่าน ความเปลยี่นแปลงและหลากหลายของชุมชนและ สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 1”, วารสารสังคมลมุ่นํ้าโขง, ปีที่ 9 , 2556, ฉบับที่มกราคม-เมษายน, หน้า 131-154. [2] อนุวิทย์ เจริญศุภกลุ, “แผนภาพตัวแบบการศึกษา สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในประเทศไทย”, วารสารหน้าจั่ว, ปี ที่ 5, 2528, ฉบับที่ 1, หน้า 43-54. [3] วิโรฒ ศรีสโุร. อ้างถึงใน Tormato (นามแฝง), “สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น”, สืบค้นเมอื่ 9 ตุลาคม 2560, สืบค้นจาก http://vernaculararchi. blogspot.com/2015/03/vernaculararchitecture.html. [4] ธาดา สุทธิธรรม, “การอนุรักษ์มรดกสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น อีสานในแนวทางการมีส่วนร่วม”, มูลนิธิภมูิปัญญา สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมและศลิปะเอเชีย, 2554. [5] คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบนัเทคโนโลยีพระจอม เกล้า วิทยาเขตเจ้าคณุทหาร ลาดกระบัง, “สถาปัตยกรรม ไทยพื้นถิ่น”, การเคหะแห่งชาติ, 2525. [6] วิวัฒน์ เตมีย์พันธ์, “แนวทางการศึกษาสถาปัตยกรรมพื้น ถิ่น”, ใน ภูมิปัญญาชาวบ้านสู่งานสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น, พลัสเพลส, 2553. [7] หน่วยอนุรักษ์ศิลปกรรมท้องถิ่นจังหวัดบุรีรมัย์, “สถาปัตยกรรมท้องถิ่นจังหวัดบุรรีัมย์”, เรวัตการพิมพ์, 2533. [8] ดนัย นิลสกลุ, “การอนุรักษ์ตึกดนิในอีสานใต้”. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบณัฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546. [9] สมมาตร์ ผลเกดิ, “วิถีครอบครัวและชุมชนชาติพันธุ์ไทย ส่วย บ้านดงกระทิง ต.บ้านด่าน อาํเภอเมือง จ.บุรรีัมย์”, สถาบันราชภฏับุรรีัมย์, 2538. [10] สมบัติ ประจญศานต์, “การศึกษาสภาพการอนุรักษ์ อุโบสถพื้นถิ่นในจังหวัดบุรีรมัย์”. มหาวิทยาลยัราชภฏั บุรีรัมย์, 2549. [11] สมบัติ ประจญศานต์, “สภาพการอนุรักษ์อุโบสถพื้นถิ่น ในจังหวัดบุรีรัมย์”, ในการนําเสนอการประชุมทางวิชาการ ประจําปี 2555 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมกับมหาวิทยาลัยขอนแก่น, (2555). [12] ฉัตร สืบสําราญ, “การคงอยูของพุทธศาสนาในการรับรู ของชาวบ้านจากภาพจิตรกรรมฝาผนัง สิมวัดทาเรียบ บ้านหนองหวา ตําบลนาโพธิ์ อําเภอนาโพธิ์ จังหวัด บุรีรัมย์”, 2552. [13] ชวลิต อธิปัตยกุล, “ฮูปแตม้อีสาน : มุมมองทางด้าน ประวัติศาสตร์ศิลปะพื้นถิ่นบนแผน่ดินอีสาน”. เต้า-โล้, 2555. [14] สมบัติ ประจญศานต์, วิสาข์ แฝงเวียง และพิพัฒน์ ประจญศานต์, “โครงการวิจัยภูมปิัญญาท้องถิ่นในการ ออกแบบอุโบสถพื้นถิ่นที่สร้างสภาวะสบาย : กรณีศึกษา อุโบสถในจังหวัดบุรรีัมย์”, มหาวิทยาลัยราชภัฏบรุีรัมย์, 2556. [15] Sombat Prajonsant, Visar Feangwiang, Pipat Prajonsan. “ Local Wisdom in Designing Vernacular Buddhist Holy Temples that Creating the Thermal Comfort : case study of Khun Kong temple’s Sim in Nang Rong district, BuriRam province”, KKU International Journal of Humanities and Social Sciences. Vol. 5, No.1 January-April, p. 31-47, 2015. [16] สมบัติ ประจญศานต์, วิสาข์ แฝงเวียง และพิพัฒน์ ประจญศานต์. “สภาวะน่าสบายในสิมวัดหนองบัวเจ้าป่า”. วารสารพื้นถิ่นโขง ชี มูล. ปีที่ 3, ฉบับกันยายน-ธันวาคม, หน้า 331-338, 2559. [17] สมบัติ ประจญศานต์, วิสาข์ แฝงเวียง และพิพัฒน์ ประจญศานต์. “สภาวะน่าสบายในสิมอีสาน”. วารสาร วิชาการ AJNU ศิลปะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยันเรศวร. ปีที่ 7, ฉบับที่ 2, หน้า 1-10, 2559. [18] อัศวิณีย์ หวานจริง, “แสงแห่งมณีจันทร์”, มหาวิทยาลยั เชียงใหม่, 2558. [19] ชวลิต อธิปัตยกุล, “สิมรูปแบบฝมีือช่างญวน 161 หลังกับ ช่วงเวลาหนึ่งในภาคอีสาน”, บ้านเหล่าการพิมพ์, 2558. [20] ชวลิต อธิปัตยกุล, “สิมญวนในอสีาน : ความโยงใย พัฒนาการจากที่มาที่ไปและสิ้นสดุในห้วงมิติเวลาบนภาค อีสานของประเทศไทย”. พิมพ์ครั้งที่ 2, เต้า-โล้, 2558. [21] สมบัติ ประจญศานต์, วิสาข์ แฝงเวียง และพิพัฒน์ ประจญศานต์, “โครงการวิจัยภูมปิัญญาท้องถิ่นในการวาง ทิศทางสิมอีสาน : กรณีศึกษาจังหวัดบุรีรมัย์”. มหาวิทยาลยัราชภฏับุรรีัมย์, 2558. [22] Sombat Prajonsant, Visar Feangwiang, Pipat Prajonsan, “The study of thermal comfort of Isan Vernacular Buddhist Holy Temples (Sims) in BuriRam Province”. Silpakorn university journal of Humanities, Arts and Social Sciences Studies. Vol. 18, No.1 p. 1-28, 2018. . [23] สมบัติ ประจญศานต์, “โครงการวิจัยภมูิปัญญาการ กําหนดพื้นที่ภายในสมิอีสาน”. เสนอต่อ สํานักงาน คณะกรรมการการอดุมศึกษา (สกอ.), มหาวิทยาลัย ราชภัฏบรุีรัมย์, 2559. [24] สมบัติ ประจญศานต์. “การกําหนดขนาดพื้นที่สังฆกรรม ตามพุทธบัญญตัิ”. เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติ โฮมภูมิ ครั้งที่ 3 ภูมิปญัญาสู่อนาคต : Wisdom for the Future เครือข่ายสถาบันการศึกษาด้านสถาปตัยกรรม และการออกแบบ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 8 สถาบัน. หน้า 109-120, 2560. [25] ปิยชนม์ สังข์ศักดา, สมบตัิ ประจญศานต์, กฤษณ์ ปิตาทะสังข์ และวิสาข์ แฝงเวียง. “โครงการวิจัยการ สํารวจสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นภายใต้การเรียนรู้แบบบูรณา การ : กรณีศึกษาสิมวดักลางนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์”. เสนอต่อ สํานักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.). มหาวิทยาลยัราชภฏับุรรีัมย์, 2560. [26] สมบัติ ประจญศานต์,“9 วัด 9 อุโบสถพื้นถิ่นจังหวัด บุรีรัมย์”, มหาวิทยาลัยราชภฏับุรรีัมย์, 2561. [27] ธนิศร์ เสถียรนาม และนพดล ตงั้สกุล, “สถานภาพ ผลงานวิชาการการศึกษาเรือนพื้นถิ่นในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย”, วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิยาลัยขอนแก่น, ปีที่15, ฉบับที่1, หน้า 59-75, 2559.

หน่วยงานการอ้างอิง

การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร

ไฟล์แนบ

pdf sombat 1

ขนาดไฟล์ 250 KB | จำนวนดาวน์โหลด 314 ครั้ง

ความคิดเห็น